Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนกานต์ โฉมงามen_US
dc.contributor.authorรัฐกานต์ ณ พัทลุงen_US
dc.contributor.authorจินตนา วงศ์ต๊ะen_US
dc.contributor.authorสุกัญญาพัฒน์ ดอกกุหลาบen_US
dc.contributor.authorนิอร วินารักษ์วงศ์en_US
dc.contributor.authorวิทูร บุญโพธิ์en_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationศึกษาศาสตร๋สาร 2, 1 (ม.ค.-เม.ย. 2561), 34-42en_US
dc.identifier.issn2586-825Xen_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/167048/120538en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65961-
dc.descriptionศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Education) เป็นวารสารวิชาการระดับชาติ ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่อันเป็นความก้าวหน้าทางวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ในยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกิจกรรมค่ายในรูปแบบสะเต็มศึกษาและประเมินผลสัมฤทธิ์ของกิจกรรมในด้านทักษะการคิด (soft skills) โดยกลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนเข้าใหม่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2558 จำนวน 26 คน ห้องเรียนวิศว์-วิทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กิจกรรมในค่ายถูกออกแบบมาเพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียนในหลักสูตรที่มีการบูรณาการข้ามสาระวิชา หรือ story based learning นอกจากนั้นเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการทำงานเป็นทีม ผลจากกิจกรรมพบว่า กิจกรรมลูกชุบทำให้นักเรียนได้สร้างชิ้นงาน (ลูกชุบ) ที่มีรูปร่างสีสัน แตกต่างจากขนมลูกชุบทั่วไป สำหรับกิจกรรมสร้างชิ้นงานจากกระดาษ ด้วยโจทย์ที่ให้นักเรียนออกแบบและสร้างโมเดลของกรุงเทพมหานครในอีก 100 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2658) เป็นการกระตุ้นให้นักเรียนคิด จินตนาการซึ่งเป็นโจทย์เปิดที่กระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ได้เป็นอย่างดี และเมื่อประเมินความคิดเห็นในกิจกรรมแลนด์มาร์ค คะแนนประเมินที่มากที่สุดคือ นักเรียนฝึกการทำงานเป็นทีม และสามารถรับฟังและยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างของเพื่อนร่วมกลุ่มได้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en_US
dc.subjectการทำงานเป็นทีมen_US
dc.subjectสะเต็มศึกษาen_US
dc.titleการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และการทำงานเป็นทีมผ่านกระบวนเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของนักเรียนห้องเรียนวิศว์-วิทย์ (โครงการ วมว.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีen_US
dc.title.alternativeThe Development of Creativity and Teamwork Through the STEM Education Learning Process of the Students in the Engineering Science Classroom, King Mongkut's University of Technology Thonburi (ESC-KMUTT)en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.