Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65956
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลือชา ลดาชาติen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationศึกษาศาสตร๋สาร 1, 2 (พ.ค.-ส.ค. 2560), 37-51en_US
dc.identifier.issn2586-825Xen_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmujedu/article/view/166687/120366en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65956-
dc.descriptionศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Journal of Education) เป็นวารสารวิชาการระดับชาติ ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม และองค์ความรู้ใหม่อันเป็นความก้าวหน้าทางวิชาการด้านศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ในยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen_US
dc.description.abstractบทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีความผันแปร ซึ่งมีรากฐานมาจากการวิจัยรูปแบบหนึ่งที่มีชื่อว่า “ปรากฏการณ์ภาพ” ทฤษฎีนี้อธิบายการเรียนรู้ด้วยมุมมองที่แตกต่างไปจากทฤษฎีสรรคนิยม ซึ่งเป็นกรอบแนวคิดหลักในการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยในปัจจุบัน ในมุมมองของทฤษฎีความผันแปร คำว่า “การเรียนรู้” เพียงลำพังไม่มีความหมาย การเรียนรู้ต้องเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง (เช่น แนวคิด ปรากฏการณ์ หรือความสัมพันธ์) หรือที่ได้ชื่อว่า “วัตถุแห่งการเรียนรู้” ในขณะที่การเรียนรู้ในมุมมองของสรรคนิยมคือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสติปัญญาของผู้เรียน แต่การเรียนรู้ในมุมมองของทฤษฎีความผันแปรคือการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับวัตถุแห่งการเรียนรู้ ในการนี้ ผู้เรียนต้องพัฒนาความสามารถในการมองเห็นลักษณะสำคัญต่าง ๆ ของวัตถุแห่งการเรียนรู้ การมองเห็นลักษณะสำคัญใด ๆ จะเป็นไปได้ ก็ต่อเมื่อผู้เรียนประสบความผันแปรของลักษณะสำคัญนั้นท่ามกลางลักษณะอื่น ๆ ที่ไม่ผันแปร เมื่อผู้เรียนมองเห็นลักษณะสำคัญทั้งหมดในเวลาพร้อมกันแล้ว ผู้เรียนจึงมีโอกาสพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะสำคัญเหล่านั้น และเข้าใจวัตถุแห่งการเรียนรู้ได้อย่างสมบูรณ์ บทความนี้อภิปรายเพิ่มเติมว่า ทฤษฎีความผันแปรไม่ได้ขัดแย้งกับทฤษฎีสรรคนิยม หากแต่ให้อีกมุมมองหนึ่งเกี่ยวกับการเรียนรู้en_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการเรียนรู้en_US
dc.subjectทฤษฎีความผันแปรen_US
dc.subjectสรรคนิยมen_US
dc.titleลฎาภา ลดาชาติen_US
dc.title.alternativeVariation Theory: Another Perspective on Learningen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.