Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจเด็จ เตชะสายen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:32Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationมนุษยศาสตร์สาร 19, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 178-218en_US
dc.identifier.issn2630-0370en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163234/117972en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65944-
dc.descriptionมนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกันen_US
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งเพื่อศึกษาท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนา โดยศึกษาจากตำราจริยศาสตร์ล้านนาจำนวน 7 ฉบับ ผลการศึกษาพบว่าตำราจริยศาสตร์ล้านนามีองค์ประกอบ 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนเปิดเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนปิดเรื่อง การเปิดเรื่องมี 2 ลักษณะ คือ การเปิดเรื่องด้วยถ้อยคำมงคล และการเปิดเรื่องด้วยการบอกเจตนารมณ์ของการส่งสาร ส่วนเนื้อเรื่อง หากจำแนกประเภทของเนื้อเรื่องตามแนวคิดเรื่องประเภทสัมพันธสารของ Robert E. Longacre (1996) พบว่าเนื้อเรื่องมี 2 ประเภท คือ เนื้อเรื่องประเภทคำสอน และเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่า เนื้อเรื่องประเภทคำสอน ประกอบด้วยส่วนขึ้นต้นคำสอน ส่วนเนื้อเรื่องคำสอน และส่วนลงท้ายคำสอน โดยส่วนขึ้นต้นคำสอนและส่วนลงท้ายคำสอนไม่ได้เป็นองค์ประกอบบังคับ การขึ้นต้นคำสอนและการลงท้ายคำสอนลักษณะต่างๆ นี้มีผลต่อการจัดหมวดหมู่คำสอนแต่ละเรื่องให้เป็นระบบและมีสัมพันธภาพ ส่วนเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่านั้นเป็นส่วนที่ใช้ประกอบเนื้อเรื่องประเภทคำสอน ท่วงทำนองการเขียนขึ้นต้นเนื้อเรื่องประเภทเรื่องเล่ามี 3 ลักษณะ ส่วนเนื้อเรื่องของเรื่องเล่านั้นเน้นที่การกระทำและผลจากการกระทำ ท่วงทำนองการเขียนลงท้ายเรื่องเล่ามี 3 ลักษณะ ส่วนปิดเรื่อง ปรากฏถ้อยคำแสดงการกล่าวจบและให้ข้อมูลเกี่ยวกับการจารen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectตำราจริยศาสตร์ล้านนาen_US
dc.subjectท่วงทำนองการเขียนen_US
dc.titleท่วงทำนองการเขียนในตำราจริยศาสตร์ล้านนาen_US
dc.title.alternativeWriting Styles in Lanna Ethics Textsen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.