Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65942
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ทิพย์สุดา จินดาปลูก | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | มนุษยศาสตร์สาร 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 33-58 | en_US |
dc.identifier.issn | 2630-0370 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131600/98740 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65942 | - |
dc.description | มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้ เป็นการศึกษาเหตุการณ์การเคลื่อนย้ายของชาวขมุจากหลวงพระบางที่เข้ามารับจ้างเป็นแรงงานทำไม้ในดินแดนล้านนา ระหว่าง ปี ค.ศ.1893 ถึง ค.ศ.1907 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ จักรวรรดินิยมอังกฤษ ฝรั่งเศส และสยาม ต่างหยิบยกเอาสถานการณ์ดังกล่าว มาเป็นประเด็นเจรจาต่อรองทางการเมืองและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของตน จากการศึกษาพบว่า นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 ชาวขมุจากหลวงพระบาง ดินแดนในอาณานิคมของฝรั่งเศส นับเป็นแรงงานกลุ่มหลักที่เข้ามารับจ้างทำไม้ในดินแดนล้านนาของสยาม ทั้งยังเป็นแรงงานสำคัญที่ขับเคลื่อนกิจการอันเป็นผลประโยชน์ของอังกฤษ ดังนั้นการเคลื่อนย้ายของแรงงานชาวขมุจึงถูกทำให้กลายเป็นประเด็นปัญหาระหว่างประเทศ จนเกิดการเจรจาต่อรองหลายครั้ง กระทั่งได้ข้อยุติในปี ค.ศ.1907 กล่าวได้ว่า ปัญหาเกี่ยวกับชาวขมุ นับเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เกิดการริเริ่มแก้ไขปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตของสยาม และช่วยยุติข้อพิพาทระหว่างฝรั่งเศสและสยามบนดินแดนล้านนาได้สำเร็จ หลังจากสถานการณ์คลี่คลายลง แรงงานชาวขมุยังคงเป็นที่ต้องการสำหรับกิจการสัมปทานป่าไม้สักอย่างต่อเนื่อง และกลายเป็นแรงงานเสรีจากภายนอกที่มีบทบาทสำคัญสุดต่อการขับเคลื่อนกิจการแบบทุนนิยมตะวันตก ให้ดำเนินต่อไปได้ในยุคที่เศรษฐกิจ-สังคมของดินแดนล้านนากำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุคสมัยใหม่ | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ขมุ | en_US |
dc.subject | หลวงพระบาง | en_US |
dc.subject | ล้านนา | en_US |
dc.subject | กิจการสัมปทานป่าไม้สัก | en_US |
dc.subject | สถานภาพทางการเมืองระหว่างประเทศ | en_US |
dc.title | การเคลื่อนย้ายของแรงงานทำไม้ชาวขมุ ที่ส่งผลกระทบต่อสถานภาพทางการเมืองระหว่างประเทศของสยามในดินแดนล้านนา ระหว่าง ค.ศ.1893-1907 | en_US |
dc.title.alternative | The Khmu Teak Concession Laborer’s Movement and the Effects to The International Politic Situation of Siam in the Lan Na between 1893–1907 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.