Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65941
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิทธิชัย ศรีเจริญประมง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.available | 2019-08-21T08:45:31Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.citation | มนุษยศาสตร์สาร 19, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 125-148 | en_US |
dc.identifier.issn | 2630-0370 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163226/117966 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65941 | - |
dc.description | มนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกัน | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินศักยภาพของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช และ 2) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักท่องเที่ยว จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า ในภาพรวมศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ในฐานะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดจันทบุรี มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวอยู่ในระดับสูง ( = 3.90, S.D. = 0.744) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ศักยภาพด้านกายภาพของแหล่งท่องเที่ยวอยู่ในระดับสูงที่สุด ( = 4.61, S.D. = 0.661) รองลงมาคือ ศักยภาพด้านคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยว ( = 4.53, S.D. = 0.668) ศักยภาพด้านความปลอดภัยของแหล่งท่องเที่ยว ( = 3.93, S.D. = 0.932) ศักยภาพด้านภาพลักษณ์อยู่ ( = 3.47, S.D. = 0.859) และศักยภาพด้านการบริการนักท่องเที่ยว ( = 2.98, S.D. = 0.598) สำหรับแนวทางในการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ควรให้ความสำคัญในการพัฒนาครอบคลุมในทุกมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาด้านการบริการ มาตรการความปลอดภัย และการส่งเสริมภาพลักษณ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพของจังหวัดจันทบุรีต่อไป | en_US |
dc.language.iso | Tha | en_US |
dc.publisher | มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | ศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว | en_US |
dc.subject | เขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน | en_US |
dc.subject | กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จังหวัดจันทบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Tourist Destination Potential Development Guideline for the Kung Grabaen Non-Hunting Area, Department of National Park, Wildlife and Plant Conservation in Chanthaburi Province | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.