Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65938
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรา ศุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:31Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:31Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.citationมนุษยศาสตร์สาร 18, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 43-83en_US
dc.identifier.issn2630-0370en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/127721/96266en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65938-
dc.descriptionมนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกันen_US
dc.description.abstractบทความฉบับนี้นำเสนอการศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบทของนิทานไวยากรณ์และตัวบทจากแหล่งต่างๆ ที่มีมาก่อนหน้าในแง่มุมของสัมพันธบท ซึ่งปรากฏร่องรอยเด่นชัดในนิทานไวยากรณ์ทั้งห้าเรื่องของ เอริค ออร์เซนนา โดยศึกษาสัมพันธบทในกลวิธีการเขียนในมิติของบทละครและกวีนิพนธ์ ภาพนักเขียนและวรรณกรรม ในส่วนการวิเคราะห์ผู้วิจัยอาศัยกรอบแนวคิดเรื่องโครงสร้างภาษาของนักวิชาการด้านภาษาศาสตร์ในแนวคิดโครงสร้างนิยมและแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม ซึ่งทำให้เห็นว่าสัญญะทางภาษามีลักษณะไม่แน่นอนตายตัว แต่เป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ที่ตอบโต้ ผสมผสานระหว่างความแตกต่างที่หลอมตัวกันเข้ามา ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนความหมายของตัวบทหนึ่งๆ ได้ สิ่งนี้นำไปสู่ประเด็นคำถามของงานวิจัยถึงเหตุผลของการใช้สัมพันธบท การผสานตัวบท และผลของการใช้สัมพันธบทที่มีต่อนิทานไวยากรณ์ของนักเขียนท่านนี้ ผลการวิจัยได้พบว่า ลักษณะประการแรกผู้ประพันธ์ได้กล่าวถึงชื่อวรรณกรรม ชื่อของตัวละครที่โด่งดังหรือพาดพิงถึงฉากสำคัญของวรรณกรรมหรือหนังสือเล่มอื่นๆ ลักษณะประการต่อมา ยังได้พบการสร้างสัมพันธบทโดยเชื่อมโยงถ้อยคำ ประโยค ตัวบทวรรณกรรมและตัวบทที่เป็นงานศิลปะแขนงอื่นๆ รวมทั้งถ้อยคำของสังคม กล่าวโดยสรุปคือ การใช้สัมพันธบทของผู้ประพันธ์เป็นการแฝงอุดมการณ์เพื่อธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศส เพราะนอกจากตัวบทเหล่านั้นจะเป็นภาพแทนความหมายทางวัฒนธรรมแล้ว ยังส่งเสริมการปลูกฝังความโน้มเอียงทางอุปนิสัย (ที่เรียกว่า ฮาบิทัส) ในการรับวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้เกิดแก่ปัจเจกบุคคล และกลุ่มคนในสังคมได้อีกด้วยen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสัมพันธบทen_US
dc.subjectนิทานไวยากรณ์en_US
dc.subjectการสร้างความโน้มเอียงทางอุปนิสัยen_US
dc.subjectการธำรงรักษาภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสen_US
dc.titleสัมพันธบทในนิทานไวยากรณ์ของ เอริค ออร์เซนนาen_US
dc.title.alternativeIntertextuality in Grammar Tales by Erik Orsennaen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.