Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65937
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสรายุทธ เลิศปัจฉิมนันท์en_US
dc.contributor.authorคำแหง วิสุทธางกูรen_US
dc.date.accessioned2019-08-21T08:45:31Z-
dc.date.available2019-08-21T08:45:31Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.citationมนุษยศาสตร์สาร 19, 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2561), 179-207en_US
dc.identifier.issn2630-0370en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/131628/98783en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65937-
dc.descriptionมนุษยศาสตร์สาร เป็นวารสารที่ออกตรงตามเวลาอย่างต่อเนื่อง โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม และฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคมมนุษยศาสตร์สาร นำเสนอบทความทางวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์ ซึ่งมีการจัดทำทั้งรูปแบบตีพิมพ์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 และรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยเริ่มจัดทำตั้งแต่ปี 2552 เช่นกันen_US
dc.description.abstractปรากฏการณ์วิทยาเป็นวิธีวิทยาของปรัชญาตะวันตกที่ริเริ่มโดย เอ็ดมุนด์ ฮุสเซิร์ล ซึ่งมีท่าทีที่สำคัญคือการลดทอนเชิงปรากฏการณ์วิทยา แต่ท่าทีดังกล่าวไม่ได้มีแต่ในปรัชญาตะวันตกเท่านั้น ในปรัชญาตะวันออกโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปรัชญาญี่ปุ่น ก็มีท่าทีแบบนั้นอยู่ บทความนี้จึงมีความมุ่งหมายที่จะเสนอให้เห็นถึงท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่นก่อนสมัยใหม่ รวมถึงอิทธิพลของปรากฏการณ์วิทยาตะวันตก ที่มีต่อปรัชญาญี่ปุ่นสมัยใหม่และร่วมสมัย ซึ่งทำให้พบว่าปรัชญาญี่ปุ่นแบบแผนดั้งเดิมของโดเง็นนั้น สนใจประเด็นปัญหาเรื่องการไตร่ตรองเจตนารมณ์ของจิต โดยแบ่งแยกอารมณ์ของการคิดและการไม่คิดออกจากกัน เพื่อนำไปสู่การไร้คิด ส่วนปรัชญาญี่ปุ่นสมัยใหม่ของนิชิดะ คิตะโร เริ่มต้นจากการชี้ให้เห็นข้อบกพร่องในปรากฏการณ์วิทยาของฮุสเซิร์ลที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอัตภาวะและประสบการณ์บริสุทธิ์ และเสนอแนวคิดเรื่องประสบการณ์พิสุทธิ์แท้ที่เกี่ยวข้องกับนัตถิภาวะสัมบูรณ์ ซึ่งทั้งวิธีคิดของนิชิดะและอิทธิพลของปรากฏการณ์วิทยา ต่างก็ส่งผลต่อกระแสความคิดในปรัชญาญี่ปุ่นร่วมสมัยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.language.isoThaen_US
dc.publisherมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectปรากฏการณ์วิทยาen_US
dc.subjectท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาen_US
dc.subjectปรัชญาญี่ปุ่นen_US
dc.titleท่าทีแบบปรากฏการณ์วิทยาในปรัชญาญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativePhenomenological Attitude in Japanese Philosophyen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.