Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนฐธิกานตร์ เจริญรัตนเดชะกูลen_US
dc.contributor.authorวริยา สุขุประการen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:45Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:45Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87692/69193en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65195-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ ศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะอุณหภูมิกายต่ำ ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและการระงับความรู้สึกโดยฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลัง โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ วิธีการศึกษา ศึกษาเชิงปฏิบัติการ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มที่ไม่ได้ใช้แนวปฏิบัติ 26 ราย และกลุ่ม ที่ใช้แนวปฏิบัติ 28 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะ อุณหภูมิกายต่ำ ผลลัพธ์หลักคือ อุบัติการณ์การเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำและภาวะหนาวสั่น ผลลัพธ์รอง คือ ผู้ป่วยมีความสุขสบายต่อการให้ความอบอุ่น ดำเนินตามกรอบแนวคิดการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกของ สภาวิจัยทางการแพทย์ และสุขภาพแห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติไคว์สแควร์ และ ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษา อุบัติการณก์ ารเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำในกลุม่ ที่ใชแ้ นวปฏิบัติลดลงทุกระยะผา่ ตัดเมื่อเทียบกับ กลุ่มที่ไม่ได้ใช้แนวปฏิบัติ ระยะก่อนผ่าตัดลดลงจากร้อยละ 7.69 เป็นศูนย์ (p =0.227) ระยะผ่าตัดลดลง จากร้อยละ 65.38 เป็น 7.14 (p =0.000) และระยะหลังผ่าตัดลดลงจากร้อยละ 7.69 เป็น 3.57 (p =0.604) สำหรับอุบัติการณ์การเกิดภาวะหนาวสั่นลดลงทุกระยะผ่าตัด ในระยะผ่าตัดลดลงจากร้อยละ 34.62 เป็น 14.29 (p =0.081) และระยะหลังผ่าตัดลดลงจากร้อยละ 11.54 เป็น 7.14 (p =0.578) และ ผู้ป่วยมีความสุขสบายต่อการให้ความอบอุ่นเพิ่มขึ้นทุกระยะผ่าตัด (p =0.000) อภิปรายผล การนำแนวปฏิบัตินี้ไปใชจ้ ะเกิดประสิทธิผลดีตอ้ งควบคุมปจั จัยที่มีตอ่ แนวปฏิบัติ เชน่ อุณหภูมิ ห้องผ่าตัด อุณหภูมิสารน้ำ ใช้อุปกรณ์ให้ความอบอุ่น และสื่อสารส่งข้อมูลจากทีมสหวิชาชีพ สรุปผลการวิจัย การนำแนวปฏิบัติสำหรับการปอ้ งกันภาวะอุณหภูมิกายตํ่ามาใชเ้ กิดประสิทธิผลที่ดีในผูป้ ว่ ย ที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและการระงับความรู้สึกโดยฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลังen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันภาวะอุณหภูมิ กายต่ำในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและการระงับความรู้สึกโดย ฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลัง โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Implementing Clinical Practice Guidelines for prevention of hypothermia among patients undergoing cesarean section and under spinal anesthesia, Maharaj Nakorn Chiangmai Hospitalen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume54en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.