Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPanatda Intaninen_US
dc.contributor.authorImjai Chitapanaruxen_US
dc.contributor.authorSomsak Wanwilairaten_US
dc.contributor.authorWannapa Nobnopen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87566/69139en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65180-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลการคํานวณปริมาณรังสีบนภาพรังสีตัดขวางระดับศักย์ไฟฟ้าเมกะโวลต์ (MVCT) ด้วยโปรแกรมแพลนอะแดปทีฟ กับปริมาณรังสีตามแผนรังสีรักษาที่ใช้ภาพรังสีตัดขวางระดับศักย์ไฟฟ้ากิโล โวลต์ (kVCT) ของเครื่องฉายรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุน วิธีการ ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลําคอ 14 ราย ที่ฉายรังสีด้วยเครื่องฉายรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุน แต่ละราย วางแผนรังสีรักษาบนภาพรังสี kVCT และคํานวณปริมาณรังสีที่ PTV70, PTV59.4 และ PTV54 ผู้ป่วยทุกราย ถ่ายภาพรังสีตัดขวาง MVCT ด้วยเครื่องฉายรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุน นําภาพรังสีตัดขวางทั้งสองมาซ้อน ทับกันเพื่อคัดลอกโครงร่างรอยโรค ต่อมน้ําลายทั้งสองข้างและไขสันหลัง คํานวณปริมาณรังสีด้วยโปรแกรม แพลนอะแดปทีฟ โดยใช้ภาพรังสี MVCT จากนั้นเปรียบเทียบปริมาณรังสีคณิตที่ปริมาตรเป้าหมาย และ อวัยวะสําคัญข้างเคียงด้วยวิธีสถิติสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการศึกษา ปริมาณรังสีเฉลี่ยที่อวัยวะเป้าหมายร้อยละ 95 ได้รับ (D95) ของ kVCT และ MVCT สําหรับ PTV70, PTV59.4 และ PTV54 คือ 212.1, 179.9, 164.9 และ 215.8, 183.3, 162.9 เซนติเกรย์ ตามลําดับ ปริมาณรังสีเฉลี่ยที่ปริมาตรร้อยละ 50 ของต่อมน้ําลายข้างขวาและซ้ายได้รับ (D50) สําหรับ kVCT และ MVCT คือ 89.6, 91.0 และ 85.9, 87.1 เซนติเกรย์ ตามลําดับ ปริมาณรังสีเฉลี่ยที่ปริมาตรร้อยละ 2 ของ ไขสันหลังได้รับ (D2) สําหรับ kVCT และ MVCT คือ 96.1 และ 98.0 เซนติเกรย์ ตามลําดับ สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาพบว่าปริมาณรังสีที่ได้จากการคํานวณบนภาพรังสี MVCT ด้วยโปรแกรมแพลน อะแดปทีฟ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติกับปริมาณรังสีที่ได้จากการวางแผนรังสีตัดขวางแบบ เกลียวหมุนบนภาพรังสี kVCT และสามารถใช้แทนกันได้en_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleComparison of calculated dose between planned adaptive software and helical tomotherapy treatment planning programsen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่คํานวณด้วยโปรแกรมแพลนอะแดปทีฟกับโปรแกรมวางแผน รังสีรักษาของเครื่องฉายรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุนen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume54en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.