Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPhuwadon Duangtoen_US
dc.contributor.authorJarupon Mahiphoten_US
dc.contributor.authorHathaichanok Chompoopheunen_US
dc.contributor.authorPasuk Mahakkanukrauhen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87560/69134en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65177-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการระบุเพศจากรอยประสาน metopic และสันนูนเหนือเบ้าตาในกลุ่มประชากรไทย วิธีการ ศึกษากะโหลกคนไทยจํานวน 300 โครง จากศูนย์วิจัยนิติกระดูกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ โดยสังเกตรอยประสาน metopic และสันนูนเหนือเบ้าตาจากกะโหลกด้วยตาเปล่า โดยแบ่งระดับ ของสันนูนเหนือเบ้าตาออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับ 1 นูนมาก ระดับ 2 นูนปานกลาง ระดับ 3 นูนน้อย และ ระดับ 4 เรียบแบน จากนั้นจะนําข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ทางสถิติเชิงพรรณา ด้วยโปรแกรมสถิติสําเร็จรูป SPSS ผลการศึกษา พบรอยประสาน metopic 3 รูปแบบคือกลุ่มกะโหลกที่ไม่พบรอยประสาน metopic ในเพศ ชายพบร้อยละ 12.9 เพศหญิงพบร้อยละ 87.1 กลุ่มกะโหลกที่พบรอยประสาน metopic แบบสมบูรณ์ ในเพศ ชายพบร้อยละ 75 เพศหญิงพบร้อยละ 25 และกลุ่มกะโหลกศีรษะที่พบรอยประสาน metopic แบบไม่ สมบูรณ์ ในเพศชายพบร้อยละ 68.9 เพศหญิงพบร้อยละ 31.1 นอกจากนี้การศึกษาการระบุเพศจากสันนูน เหนือเบ้าตา พบว่าในเพศชายจํานวนมากในระดับ 1 และ 2 พบร้อยละ 94.5 และ 93.9 ส่วนในเพศหญิง จํานวนมากในระดับ 3 และ 4 พบร้อยละ 76 และ 92 ตามลําดับ สรุปผลการศึกษา รอยประสาน metopic และสันนูนเหนือเบ้าตา ซึ่งเป็นส่วนของกะโหลกศีรษะ น่าจะนํามา ใช้ในการระบุเพศในคนไทยในการพิสูจน์เอกลักษณ์บุคคลen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSex determination from metopic suture and supraorbital ridge in Thai populationen_US
dc.title.alternativeการระบุเพศจากรอยประสาน metopic และสันนูนเหนือเบ้าตา ในกลุ่มประชากรไทยen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume53en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, School of Medical Science, University of Phayaoen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, School of Medical Science, University of Phayaoen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, School of Medical Science, University of Phayaoen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.