Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorPorntip Sutiratchaichanen_US
dc.contributor.authorSirinapa Kamphanen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:44Z-
dc.date.issued2014en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/87551/69128en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65174-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ งานวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายเพื่อเปรียบเทียบความแม่นยําในการวินิจฉัยระหว่างการตรวจด้วย เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธีการกินสารทึบรังสี และการตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธี การกินและฉีดสารทึบรังสีในผู้ป่วยซึ่งอาการและอาการแสดงของโรคไส้ติ่งอักเสบไม่ชัดเจน วิธีการศึกษา ผู้ป่วย 103 ราย (อายุระหว่าง 15-94 ปี) ซึ่งมีอาการและอาการแสดงของโรคไส้ติ่งอักเสบไม่ ชัดเจนจะถูกรวมเข้าในการศึกษาแบบย้อนหลัง ผู้ป่วยทุกรายจะได้กินสารทึบรังสีและได้รับการตรวจเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ 1 ชั่วโมงหลังจากเริ่มกินสารทึบรังสี หลังจากนั้นผู้ป่วยจะได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ซ้ํา อีกครั้งหลังจากฉีดสารทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดํา การแปลผลภาพเอกซเรย์จะกระทําโดยรังสีแพทย์ 2 คน ซึ่งต่างแปลผลแยกกันและเป็นอิสระต่อกัน โดยรังสีแพทย์ทั้งสองจะไม่ทราบประวัติทางการแพทย์ของผู้ป่วย การวินิจฉัยสุดท้ายของผู้ป่วยพิจารณาจากผลการผ่าตัด อาการทางคลินิก และข้อมูลการติดตามของผู้ป่วย ผลการศึกษา มีผู้ป่วยเข้าร่วมในการวิจัย 103 ราย ผู้ป่วย 7 ราย ได้รับการตรวจเฉพาะเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ โดยวิธีการกินสารทึบรังสี เนื่องจากมีข้อห้ามในการฉีดสารทึบรังสีเข้าทางหลอดเลือดดํา จากการวิเคราะห์ผล การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยใช้วิธีทั้งการกินและฉีดสารทึบรังสี กับเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธีการกิน สารทึบรังสี พบว่า ให้ความไวเท่ากับ 89.4 และ 83.3 (p=0.55) ความจําเพาะเท่ากับร้อยละ 95.9 และร้อยละ 96.4 (p=1.00) คุณค่าการทํานายผลบวกเท่ากับร้อยละ 95.5 และร้อยละ 95.2 (p=1.00) คุณค่าการทํานาย ผลลบเท่ากับร้อยละ 90.4 และร้อยละ 86.9 (p=0.77) และ ความแม่นยําเท่ากับร้อยละ 92.7 และร้อยละ 90.3 (p=0.62) ตามลําดับ การวินิจฉัยโรคอื่นพบในผู้ป่วย 30 ราย (ร้อยละ 29.1) โดยพบความผิดปกติระบบ ทางเดินอาหาร (12 ราย) ความผิดปกติระบบทางเดินปัสสาวะ (10 ราย) ความผิดปกติระบบนรีเวช (6 ราย) อื่น ๆ (2 ราย) สรุปผลการศึกษา การวินิจฉัยผู้ป่วยที่สงสัยโรคไส้ติ่งอักเสบด้วยการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธีการกิน สารทึบรังสี และโดยวิธีกินและฉีดสารทึบรังสีห์ผลลัพธ์ที่เหมือนกันen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleการวินิจฉัยผู้ป่วยที่สงสัยโรคไส้ติ่งอักเสบด้วยการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธีการกินและฉีดสารทึบ รังสีเปรียบเทียบกับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โดยวิธีการกินสารทึบรังสีen_US
dc.title.alternativeDiagnosis of appendicitis: comparison of computed tomography (CT) scans using oral contrast material alone versus oral and intravenous (IV) contrast mediaen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume53en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Lamphun Hospital, Ministry of Public Healthen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Radiology, Lamphun Hospital, Ministry of Public Healthen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.