Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65131
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorChainarong Tocharusen_US
dc.contributor.authorDawan Shimbhuen_US
dc.contributor.authorJiraporn Tocharusen_US
dc.contributor.authorArampa Ruchiratanti-angkooren_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:42Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:42Z-
dc.date.issued2012en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/88060/69312en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65131-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค เพื่อศึกษาผลของการไดรับสารสกัดหัวกวาวเครือแดงดวยเอธานอลในระยะยาวตอการปฏิสนธิ คุณภาพของ อสุจิ และพยาธิสภาพของอัณฑะในหนูแฮมเตอรเพศผู วิธีการศึกษา แบงหนูแฮมเตอรเพศผู น้ำหนัก 100-120 กรัม ออกเปน 4 กลุม โดยกลุมที่ 1 เปนกลุมควบคุม ไดรับการปอนน้ำ ทางปากติดตอกันเปนระยะเวลา 6 เดือน กลุมที่ 2, 3 และ 4 ไดรับการปอนสารสกัดกวาวเครือแดงที่ความเขมขน 0.1, 1 และ 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม ของน้ำหนักตัวติดตอกันเปนระยะเวลา 6 เดือน แลวศึกษาความสามารถในการปฏิสนธิของอสุจิดวย การนับจำนวนของ ตัวออนที่ไดจากหนูตัวเมียในระยะ 2 เซลล ศึกษาคุณภาพของอสุจิจากการนับจำนวนอสุจิ และจำนวน ของอะโครโซมที่สวนหัวของอสุจิ และศึกษาพยาธิสภาพของอัณฑะในหนูแตละกลุมโดยเทคนิค triple stain ผลการศึกษา สารสกัดหัวกวาวเครือแดงทำใหหนูแฮมเตอรมีจำนวนของตัวออน และจำนวนเซลลอสุจิเพิ่มขึ้นอยางมีนัย สำคัญทางสถิติ ไมพบความแตกตางของอะโครโซมที่สวนหัวของอสุจิในกลุมที่ไดรับสารสกัดหัวกวาวเครือแดงและกลุม ควบคุม นอกจากนี้ไมพบความผิดปกติทางพยาธิสภาพของอัณฑะในหนูที่ไดรับสารสกัดกวาวเครือแดง สรุปผลการศึกษา สารสกัดหัวกวาวเครือแดงในปริมาณที่ใชศึกษามีฤทธิ์ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิสนธิ เมื่อใหทาง ปากแกหนูแฮมเตอรเพศผู เปนเวลานาน 6 เดือน โดยไมทำใหเกิดพยาธิสภาพในอัณฑะen_US
dc.languageEngen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffect of Butea Superba. Roxb root extract on male hamster fertilityen_US
dc.title.alternativeผลของสารสกัดหัวกวาวเครือแดงในระยะยาวตอการปฏิสนธิของอสุจิในหนูแฮมเตอรen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume51en_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Biochemistry, Faculty of Medical Science, Naresuan Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Physiology, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
article.stream.affiliationsDepartment of Anatomy, Faculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.