Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัยยศ อิษฏ์วรพันธุ์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77158/61943en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65118-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractพิพิธภัณฑ์ศิลปะในประเทศญี่ปุ่นเป็นหนึ่งในสถาบันทางการศึกษาที่สำคัญที่สุดมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 จากจุดมุ่งหมายเริ่มแรกของการเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรมมาเป็นการสะสมงานศิลปะทั้งของตะวันตกและญี่ปุ่นเอง การก่อสร้างพิพิธภัณฑ์ศิลปะรุ่งเรืองมากในช่วงทศวรรษที่ 1970 - 1980 ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1990 เศรษฐกิจที่ถดถอยทำให้พิพิธภัณฑ์ศิลปะบางแห่งมีผู้เข้าชมไม่เพียงพอ และบางแห่งต้องปิดตัวลง อีกเหตุผลหนึ่งที่สำคัญคือศิลปะร่วมสมัยมีรูปลักษณ์และความหมายที่เปลี่ยนแปลงไป ศิลปินเองก็ใช้สื่อหลากหลายแทบไม่มีข้อจำกัด เมื่อรวมกับศิลปะแบบมาตรฐานที่ก็ยังคงมีกิจกรรมการจัดแสดงอยู่ เงื่อนไขเหล่านี้ทำให้พิพิธภัณฑ์ศิลปะต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย พิพิธภัณฑ์ศิลปะที่สร้างขึ้นตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมาปรับตัวให้ขนาดลดลง สถาปัตยกรรมก็ถูกปรับให้รองรับและมีส่วนร่วมกันกับงานศิลปะ บางกรณีมีความสัมพันธ์กับคน วัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นที่อาคารตั้งอยู่มากขึ้นโดยได้รับผลกระทบดังกล่าว งานวิจัยนี้พบว่าพิพิธภัณฑ์ศิลปะเปลี่ยนจากการเป็นพื้นที่ “ลูกบาศก์ขาว” ติดตั้งงานศิลปะอย่างเงียบๆ กลายเป็นมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการแสดงออกของศิลปะและการชมศิลปะด้วย ตัวอย่างของพิพิธภัณฑ์ศิลปะและงานศิลปะที่ทั้งรูปทรงความหมายและการชมแยกจากกันไม่ออกเป็นสิ่งที่พบได้ในญี่ปุ่นปัจจุบันen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสร้างสรรค์ศิลปะและพิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัยในประเทศญี่ปุ่นen_US
dc.title.alternativeArt Theory Department, Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok.en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume7en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาทฤษฎีศิลป์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.