Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65110
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวราภรณ์ ภูมลีen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:41Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77443/62105en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65110-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractการศึกษางานสร้างสรรค์จิตรกรรมบาติกลวดลายล้านนา จังหวัดลำปางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลาย การประดับตกแต่งสถาปัตยกรรมล้านนาของวัดพระธาตุลำปางหลวง วัดปงยางคก และวัดไหล่หิน ซึ่งได้นำเอาแรงบันดาลใจจากการได้ศึกษาจากสถานที่จริง รูปแบบลักษณะลวดลายของช่างชาวล้านนาในการตกแต่งภายในและภายนอกวิหาร รวมถึงซุ้มประตูโขงและธรรมาสน์โดยมีการถ่ายทอดลวดลายเป็นผลงานจิตรกรรมเทคนิคบาติกลายเขียน 3 ชุด จำนวน 8 ชิ้น จากนั้นจึงนำผลงานมาวิเคราะห์เนื้อหาและรูปทรงการแสดงออกของทัศนธาตุ ผลของการศึกษาทำให้เห็นคุณค่าความงามของลวดลายที่มีเอกลักษณ์ที่ปรากฏอยู่ตำแหน่งต่างๆ ในจิตรกรรมลายคำต้นศรีมหาโพธิ์ ปูนปั้นมอมบริเวณฐานชุกชีภายในวิหารนํ้าแต้ม รวมถึงพุทธศิลป์ เช่น ลวดลายจากธรรมาสน์ที่แกะสลักจากไม้ภายในวิหารหลวงวัดพระธาตุลำปางหลวง ต้นศรีมหาโพธิ์ และลายหม้อดอก (ปูรณฆฏะ) วิหารจามเทวี วัดปงยางคก ลวดลายปูนปั้นซุ้มประตูโขงและปูนปั้นลายหม้อดอก (ปูรณฆฏะ) ฐานชุกชี วัดไหล่หิน การประยุกต์ลวดลายผ่านรูปแบบจิตรกรรมบาติกและใช้ในการเรียนการสอน เป็นส่วนหนึ่ง ที่ช่วยให้การเผยแพร่ศิลปะล้านนาของจังหวัดลำปางนับวันจะเลือนหายให้เป็นที่รู้จักในเชิงผลงานจิตรกรรมที่สามารถพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบลวดลายต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ เครื่องแต่งกายหรือของตกแต่งให้เข้าถึงบุคคลทั่วไปให้ได้รับสุนทรียภาพจากความงามของลวดลายล้านนามากขึ้นen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษางานสร้างสรรค์ จิตรกรรมบาติกจากลวดลายล้านนา จังหวัดลำาปางen_US
dc.title.alternativeThe study on the creative work of batik painting with Lanna motifs of Lampang provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume7en_US
article.stream.affiliationsสาขาศิลปะและการออกแบบ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำาปางen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.