Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65103
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ริเอะ นากามูระ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77244/61995 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65103 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้มุ่งศึกษาภาพจิตรกรรมปราสาท หมี เซิน ในยุคประวัติศาสตร์ของอาณาจักรจามปา ซึ่งวาดโดยศิลปินชนชาติจามชื่อ ด่าง นัง เถอะ เข้าใจกันว่าชนเผ่าจามคงจะสืบเชื้อสายมาจากอาณาจักรจามปา ซึ่งในปัจจุบันนับเป็นชาติพันธุ์ย่อยชาติพันธุ์หนึ่งใน 54 ชาติพันธุ์ที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากรัฐบาลเวียดนาม จากความขัดแย้งในประวัติศาสตร์กับชาวเวียดนาม และการเคลื่อนไหวทางการเมืองการปกครองในยุคทศวรรษที่ 1960 ประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชาวจามจึงเป็นประเด็นที่ “อ่อนไหว” เสมอมา วิหาร หมี เซิน เป็นศาสนสถานฮินดูแห่งราชวงศ์จามปา สร้างขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 4 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และยังได้รับการพิจารณาว่าเป็นศาสนสถานสำคัญที่สุดในยุคที่อาณาจักรจามปารุ่งเรืองสูงสุด ในปี ค.ศ. 1999 วิหาร หมี เซิน ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก (World Heritage Site) โดยองค์การยูเนสโก และกลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศเวียดนามศิลปินชาวเวียดนามหลายรายใช้วิหารแห่งนี้เป็นเนื้อหาหลักในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของตน บทความฉบับนี้คือความพยายามถอดรหัสข้อความที่ศิลปิน ด่าง นัง เถอะ ส่งสารผ่านภาพจิตรกรรมในวิหาร หมี เซิน มีการอภิปรายโต้แย้งว่าศิลปินผู้นี้ได้แทรกแนวคิดว่าวิหารแห่งนี้เป็นถิ่นพำนักทางจิตวิญญาณของชาวจาม และมีความเป็นไปได้ที่ศิลปินจะใช้งานศิลปะเป็นกลยุทธ์เพื่อให้ชนกลุ่มน้อยกลุ่มนี้สามารถอ้างสิทธิ์ของตนในมรดกทางวัฒนธรรมแห่งนี้ได้ | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Mỹ So’n in Green: ภาพจิตรกรรมปราสาท หมี เซิน แบบจามปา ของศิลปิน ด่าง นัง เถอะ | en_US |
dc.title.alternative | Mỹ So’n in Green: A painting of the Champa Sanctuary of Mỹ So’n by Đàng Năng Thọ’ | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 6 | en_US |
article.stream.affiliations | ผู้บรรยายรับเชิญอาวุโส มหาวิทยาลัยอุตระ ประเทศมาเลเซีย | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.