Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65101
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชญาน์วัต ปัญญาเพชร | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77255/62004 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65101 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่อง “ศิลปะร่วมสมัยไทย1 ภายใต้แนวคิดหลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990” เน้นศึกษาการทํางานศิลปะของศิลปินไทยจํานวน 3 ท่าน ได้แก่ ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช นาวิน ลาวัลย์ชัยกุล และสุธี คุณาวิชยานนท์ ภายใต้พื้นฐานการศึกษา ทฤษฎีหลังอาณานิคม เนื่องจากการศึกษาหลังอาณานิคมนั้นมีแนวคิดที่หลากหลาย งานวิจัยนี้จึงหยิบ แนวคิดบางส่วนที่เป็นรูปแบบเชิงภาพรวมแนวคิดหลักของหลังอาณานิคมคือ 1. แนวคิดบูรพาคตินิยม ที่ว่าด้วยการสร้างตัวแทนตะวันออกในสายตาของ ตะวันตกจากพื้นฐานวิธีคิดแบบทวิลักษณ์ 2. แนวคิดลูกผสม ที่นำมาอธิบาย ลักษณะการผสมผสานทางวัฒนธรรมเพื่อใช้ต่อรองปรัชญาสารัตถนิยมที่แฝง อยู่ในความคิดอาณานิคม 3. แนวคิดชาติในยุคสมัยใหม่ที่เป็นผลพวงจากลัทธิ อาณานิคม ความสมัพนัธร์ะหวา่งปฏบิตักิารศลิปะของศลิปนิทงั้ 3 ทา่นกบัทฤษฎหีลงัอาณานคิม บ่อยครั้งพบว่ามักเกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน สัญลักษณ์ชาติ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ของชาติ เชื้อชาติหรือชาติพันธุ์ โดยใช้กลวิธีการนําเสนอที่หลากหลายในรูปแบบ ผลงานศิลปะและความคิด ปฏิบัติการศิลปะของฤกษ์ฤทธิ์พบว่ามีแนวคิดการสร้าง ความเปน็อนื่และการผสมกลมกลนืทางวฒันธรรม สว่นปฏบิตักิารศลิปะของสธุแีละ นาวินเป็นทั้งการตอบสนองต่อความคิดชาตินิยม และเป็นการวิพากษ์ ท้าทาย หรือ ต่อรอง “ความเป็นไทย” หรือชาตินิยมทางวัฒนธรรมกระแสหลักไปพร้อมๆ กัน | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ศิลปะร่วมสมัยไทยภายใต้แนวคิด หลังอาณานิคมในทศวรรษที่ 1990 | en_US |
dc.title.alternative | Thai Contemporary Art under Postcolonialism in 1990s | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 6 | en_US |
article.stream.affiliations | นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาทฤษฎีศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.