Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65100
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ฐาปกรณ์ เครือระยา | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77258/62007 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65100 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง “พุทธลักษณะสกุลช่างครูบาโน รูปแบบ เทคนิค และแนวคิดการ สร้างพระพุทธรูปครูเมืองละกอน” มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมรูปแบบและ ลักษณะของพุทธศิลปะสกุลช่างครูบาโน ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบเฉพาะของงาน พุทธศิลป์ครูบาโน ทั้งทางด้านคติความเชื่อ เทคนิคการตกแต่ง และความสัมพันธ์ ของชุมชนต่างๆ ผ่านงานพุทธศิลป์ครูบาโน ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้จะสามารถนำไปใช้ ในการสร้างและอนุรักษ์ รวมถึงผลักดันให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่น ลักษณะการวิจัยเป็นเชิงคุณภาพสำรวจลงพื้นที่ซึ่งมีวิธีการศึกษาในเชิงปฏิบัติการ ร่วมกับคนในชุมชน ทั้งการสอบถามรายละเอียดสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม พร้อมทั้งทำการบันทึกภาพสัดส่วนทางพุทธศิลปกรรม รายละเอียดต่างๆ แล้วนำ มาคดัลอกลายเสน้เพอ่ืเปรยีบเทยีบขอ้มลู กอ่นนำไปวเิคราะหห์ารปูแบบ เอกลกัษณ์ และเทคนิคการสร้าง ผลการศึกษาพบว่างานพุทธศิลป์ครูบาโนตามบันทึกโบราณ ซึ่งมีจํานวน 63 แห่ง และได้ทําการสํารวจเพิ่มตามคําให้สัมภาษณ์ของคนในชุมชนใกล้เคียงอีก 7 แห่ง รวมสถานที่ที่ทําการเก็บข้อมูลคือ 70 แหล่งมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งพุทธลักษณะ องคพ์ระทงั้ 70 องคน์นั้ถอืเปน็เอกลกัษณท์างเทคนคิเชงิชา่ง และเทคนคิการตกแตง่ ที่โดดเด่นซึ่งปรากฏในเขตนครลําปาง คือ อําเภอเมือง อําเภอเกาะคา อําเภอแม่ทะ อําเภอห้างฉัตร อําเภอเมืองปาน อําเภอแจ้ห่ม จังหวัดลําปาง และอําเภอแม่ใจ จงัหวดัพะเยา อนัเปน็เอกลกัษณข์องการสรา้งพระพทุธรปูสกลุชา่งครบูาโน หรอื ครู เมืองละกอน ทั้งนี้ข้อมูลดังกล่าวได้นํามาวิเคราะห์ตีความการเปลี่ยนแปลง ทั้งทาง ดา้นคตคิวามเชอื่ เทคนคิการตกแตง่ รวมถงึลกัษณะอนัเปน็เอกลกัษณข์องพระพทุธ รูปในช่วงยุคสมัยที่ครูบาโนยังมีชีวิตอยู่ เช่น จิกโมฬี, ชายสังฆาฏิ, ติ่งพระกรรณ, และดอกบัวรองมือ ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้นั้นสามารถนําไปใช้ในการสร้างและอนุรักษ์ รวมถึงผลักดันให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่นในอนาคต เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การจัดทําพิพิธภัณฑ์งานศิลป์ครูบาโนของวัดปงสนุกเหนือต่อไป | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | พุทธลักษณะสกุลช่างครูบาโน รูปแบบ เทคนิค และแนวคิดการสร้าง พระพุทธรูปครูเมืองละกอน | en_US |
dc.title.alternative | Characteristics of Buddha Images in Kru Ba No Style: Forms, Techniques and Concepts of Original Muang Lakhon‘s Buddha Image. | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 6 | en_US |
article.stream.affiliations | อาจารย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ วิทยาลัยอินเตอร์เทคลําปาง | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.