Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิศาชล สัตยานุรักษ์en_US
dc.contributor.authorวิชุดา จิรพรเจริญen_US
dc.contributor.authorอนวัช วิเศษบริสุทธิ์en_US
dc.contributor.authorนลินี จักรแก้วen_US
dc.contributor.authorอัศวิน โรจนสุมาพงศ์en_US
dc.contributor.authorกนกพร ภิญโญพรพาณิชย์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:40Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:40Z-
dc.date.issued2018en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/114146/88553en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65094-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ ศึกษาความชุกของการออกกําลังกายในนักศึกษาแพทย์ และหาความสัมพันธ์ระหว่างการ ออกกําลังกายกับคุณภาพชีวิต วิธีการศึกษา การวิจัยภาคตัดขวางแบบย้อนหลัง ใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากฐานข้อมูลสุขภาพนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 2 ถึง 5 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2558 ประเมินการออกกําลังกาย อย่างเหมาะสม คือ ออกกําลังกายเฉลี่ยอย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์และ 30 นาทีขึ้นไปต่อครั้ง และคุณภาพ ชีวิตโดยใช้ SF-36 ผลการศึกษา นักศึกษาแพทย์ 933 คน เป็นเพศชายร้อยละ 47.5 อายุเฉลี่ย 21.5 ปี มีความชุกของการ ออกกําลังกายอย่างเหมาะสมร้อยละ 29.3 ระดับการออกกําลังกายไม่มีความแตกต่างกันในนักศึกษาแพทย์ แต่ละชั้นปี โดยเพศชายมีการออกกําลังกายอย่างเหมาะสมมากกว่าเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 36.12 และ 23.06 ตามลําดับ (p <0.01) นักศึกษาแพทย์ที่มีการออกกําลังกายอย่างเหมาะสมมีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า นักศึกษาแพทย์ที่ออกกําลังกายไม่เพียงพอและไม่ออกกําลังกาย (p <0.01) สรุปผลการศึกษา การออกกําลังกายมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตที่เพิ่มขึ้น แต่นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่ ขาดการออกกําลังกายที่เพียงพอต่อสุขภาพ การสนับสนุนด้านการออกกําลังกายอาจช่วยพัฒนาส่งเสริม คุณภาพชีวิตในระหว่างเรียนได้ ทั้งนี้ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมถึงปัจจัยที่มีผลต่อการออกกําลังกายและรูป แบบการออกกําลังกายที่เหมาะสมต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : ความสัมพันธ์ระหว่างการออกกําลังกายกับคุณภาพชีวิตของนักศึกษาแพทย์en_US
dc.title.alternativeExercise and quality of life in medical studentsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume57en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.