Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65089
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุรพล ดำริห์กุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:40Z | - |
dc.date.issued | 2557 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77225/61985 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65089 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | ในช่วงเวลาที่ผ่านมาเรื่องราวของเจดีย์ช้างล้อมและเจดีย์สิงห์ล้อมที่ปรากฏอยู่ในกรุงศรีอยุธยายังมีคำอธิบายไม่มากนัก บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ผู้เขียนได้ทำการศึกษาเรื่องราวพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์กับเจดีย์ช้างล้อมในประเทศไทย ซึ่งได้ตัดตอนมานำเสนอเฉพาะเรื่องราวของเจดีย์ช้างล้อมและเจดีย์สิงห์ล้อม เพื่ออธิบายถึงการเกิดขึ้นของเจดีย์ช้างล้อมและเจดีย์สิงห์ล้อมที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ประวัติพระพุทธศาสนา และศิลปะสถาปัตยกรรมในกรุงศรีอยุธยา ผลของการศึกษาพบว่าในกรุงศรีอยุธยามีเจดีย์ช้างล้อมจำนวน 3 แห่ง คือพระเจดีย์ประธานวัดมเหยงคณ์ พระเจดีย์ประธานวัดช้าง และเจดีย์ทรงระฆังช้างล้อมวัดหัสดาวาส และเจดีย์สิงห์ล้อมจำนวน 2 แห่ง คือ เจดีย์ประธานวัดแม่นางปลื้ม และเจดีย์ประธานวัดธรรมิกราช การปรากฏขึ้นของเจดีย์ช้างล้อมและเจดีย์สิงห์ล้อมจะอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นระยะเวลาที่พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์เผยแผ่เข้ามา ทำให้เกิดการแข่งขันกันระหว่างพระพุทธศาสนาสายพื้นเมืองเดิมที่สืบทอดมาจากเมืองลพบุรีหรืออาณาจักรเขมรอันรุ่งเรืองกับพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สายสีหลและสายรามัญ การสร้างเจดีย์ช้างล้อมและเจดีย์สิงห์ล้อมขึ้นนั้นเพื่อให้เป็นสัญลักษณ์ประกาศถึงความเป็นพระพุทธศาสนาบริสุทธิ์ และเพื่อสร้างความชอบธรรมให้ได้รับการสนับสนุนและยอมรับนับถือ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | เจย์ดีช้างล้อมและเจย์ดีสิงห์ล้อมในกรุงศรีอยุธยา | en_US |
dc.title.alternative | Chang Lorm Chedis and Singha Lorm Chedis in Ayutthaya | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 5 | en_US |
article.stream.affiliations | ศาสตรจารย์เกียรติคุณประจำภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.