Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์en_US
dc.contributor.authorบวร วิทยชํานาญกุลen_US
dc.contributor.authorบริบูรณ์ เชนธนากิจen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:39Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:39Z-
dc.date.issued2018en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/111926/87288en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65078-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาบรรลุเป้าหมายการรักษาอย่างครบถ้วน ตั้งแต่แผนก ฉุกเฉินตามแนวทางการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกโดยมีเป้าหมายการรักษาที่ชัดเจน (Early goal-directed therapy; EGDT) ของผู้ป่วยภาวะติดเชื้อชนิดรุนแรงหรือช็อกจากการติดเชื้อกับอัตราการเสียชีวิต ในโรงพยาบาลจากทุกสาเหตุ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบเก็บข้อมูลย้อนหลังในแผนกฉุกเฉิน โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2554 ถึง 31 ธันวาคม 2557 ผู้ป่วยจะได้รับการรักษาตามแนวทาง EGDT ให้บรรลุเป้าหมายให้เสร็จสิ้นตั้งแต่แผนกฉุกเฉิน โดยวิเคราะห็หาความสัมพันธ์ด้วยการถดถอยลอจิสติก ผลการศึกษา มีผู้ป่วยเข้าร่วมการศึกษา 107 ราย ซึ่งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาในการบรรลุ เป้าหมายการรักษาอย่างครบถ้วนกับอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลจากทุกสาเหตุ ( ค่าสัมประสิทธิ์การ ถดถอย -0.01; p=0.11) รวมถึงไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาดังกล่าวกับระยะเวลาการนอนในหอ ผู้ป่วยวิกฤตหรือกึ่งวิกฤต (ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลําดับที่สเปียร์แมน -0.14; p=0.14) ระยะเวลาการ รักษาในโรงพยาบาล (ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลําดับที่สเปียร์แมน 0.03; p=0.73) จํานวนวันที่ไม่ต้องอยู่ ในหอผู้ป่วยวิกฤตหรือกึ่งวิกฤต (ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลําดับที่สเปียร์แมน 0.10; p=0.32) จํานวนยา ปฏิชีวนะที่ใช้ ( ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลําดับที่สเปียร์แมน 0.01; p=0.91) จํานวนวันที่ไม่ต้องใช้ยา ปฏิชีวนะ ( ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ลําดับที่สเปียร์แมน -0.02; p=0.81) และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น (ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอย -0.01 ถึง 0; p >0.05) สรุปผลการศึกษา ระยะเวลาในการบรรลุเป้าหมายการรักษาอย่างครบถ้วนตามแนวทาง EGDT ตั้งแต่ ภายในแผนกฉุกเฉินสําหรับผู้ป่วยภาวะติดเชื้อชนิดรุนแรงหรือภาวะช็อกจากการติดเชื้อภายในชั่วโมงแรก ๆ อาจไม่มีผลลดอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลจากทุกสาเหตุen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : ระยะเวลาบรรลุเป้าหมายการรักษาผู้ป่วยภาวะติดเชื้อชนิดรุนแรงหรือมีภาวะช็อก ของแผนกฉุกเฉินมีความสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลอย่างไร?en_US
dc.title.alternativeHow does the length of time in the emergency department to achieve the therapeutic goals in patients with severe sepsis or septic shock affect the in-hospital all-cause mortality rate?en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume57en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.