Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพิชญา สุ่มจินดาen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:39Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:39Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77640/62265en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65074-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractบทความมุ่งศึกษาภาพสลักบุรุษปริศนาผู้กำลังถูกเลื่อยผ่าศีรษะ ปรากฏทั่วไปในศิลปะบายนจนกระทั่งถึงศิลปะหลังบายน และเป็นปริศนามานานว่ามีเรื่องราวของภาพสอดคล้องกับพุทธศาสนนิทานภาษาสันสกฤต คือ อวทาน-กัลปลตา ของเกษเมนทระ เรื่องที่ 2 ศรีเสนาวทาน กล่าวถึงพระเจ้าศรีเสนะผู้ทรงบริจาคพระวรกายครึ่งหนึ่ง ประทานแก่พราหมณ์พระอินทร์แปลง เพื่อทดสอบพระปณิธานของพระองค์ ตามคติของลัทธิมหายานและลัทธิตันตรยานที่ให้ความสำคัญกับการบำเพ็ญทศภูมิหรือบารมี 10 ประการของพระโพธิสัตว์หนึ่งในนั้น คือ ปณิธาน เรื่องศรีเสนาวทานยังให้อนุภาคกับปัญญาสชาดก ของล้านนา เรื่องที่ 7 สิริจุฑามณีชาดก ในภาคภาษาบาลี ซึ่งได้นำเนื้อหาของพุทธศาสนนิทานทั้งภาษาสันสกฤตและบาลีมาเรียบเรียง ลอกเลียน หรือดัดแปลงใหม่ ดังนั้น แม้แนวคิดของเรื่องสิริจุฑามณีจะอยู่ภายใต้อิทธิพลของนิกายเถรวาทที่แสดงถึงการบำเพ็ญทานของพระโพธิสัตว์เพื่อหวังพระโพธิญาณ คือการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต แต่ด้วยโครงเรื่องที่ดัดแปลงมาจากเรื่องศรีเสนาวทาน การแสดงออกของภาพจากเรื่องสิริจุฑามณีชาดกในงานพุทธศิลป์จึงมีความคล้ายคลึงกับภาพสลักเล่าเรื่องศรีเสนาวทานในศิลปะกัมพูชาดังปรากฏบนตู้พระธรรมไม้จำหลักในศิลปะล้านนาจากวัดบุญยืน จังหวัดน่านen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleถอดรหัสภาพสลักบุรุษปริษนาถูกเลื่อยผ่าศรีษะในศิลปะบายนและหลังบายน: ภาพเล่าเรื่องศรีเสนาวทานจาก อวทาน-กัลปลตา ของเกษเมนทระen_US
dc.title.alternativeDecoding the Undecoded Reliefs in Bayon and Post-Bayon style Depicting a Mysterious Man Cut Head by a Saw: the Story of SrIsenavadana from AvadanaKalpalata by Ksemendra.en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume4en_US
article.stream.affiliationsอาจารย์ประจำสาขาวิชาศิลปะไทย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.