Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโอภาส พิณไชยen_US
dc.contributor.authorวิมล ศิริมหาราชen_US
dc.contributor.authorคณารัฐ ณ ลําปางen_US
dc.contributor.authorRobert Molloyen_US
dc.contributor.authorคณิตศ์ สนั่นพานิชen_US
dc.contributor.authorอํานาจ อยู่สุขen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.issued2017en_US
dc.identifier.issn0125-5983en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/CMMJ-MedCMJ/article/view/104271/83135en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65063-
dc.descriptionChiang Mai Medical Journal (Formerly Chiang Mai Medical Bulletin) is an official journal of the Faculty of Medicine, Chiang Mai University. It accepts original papers on clinical and experimental research that are pertinent in the biomedical sciences. The Journal is published 4 issues/year (i.e., Mar, Jun, Sep, and Dec).en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความปลอดภัยในการใช้ mesh hydrogel ซึ่งผลิตโดยหน่วยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ ทางการแพทย์ (Biomedical Polymer Technology unit) ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ภายใต้ความร่วมมือกับศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (National Metal and Materials Technology Center) สําหรับเป็นวัสดุทดแทนผิวหนังชั่วคราวใน partial thickness wound เปรียบ เทียบกับ hydrocolloid โดยการทดลองในหนู วิธีการ นําหนู (rat) 12 ตัว แบ่งออกเป็น สองกลุ่ม กลุ่มละ 6 ตัว กลุ่มที่ 1 เป็น control group ทําให้เกิด แผล abrasion บริเวณหลังด้านขวา ปิดแผลด้วย hydrocolloid ส่วนหลังด้านซ้ายเป็น intact skin ปิด ด้วย hydrocolloid กลุ่มที่ 2 : เป็น study group ทําให้เกิดแผล abrasion บริเวณหลังด้านขวา ปิดแผล ด้วย mesh hydrogel ส่วนหลังด้านซ้ายเป็น intact skin ปิดด้วย mesh hydrogel จากนั้น 1) ประเมิน dermal irritancy ตามแบบวิธีของ adopted Draize scoring system เมื่อครบ 24 และ 72 ชั่วโมง และ 2) ประเมิน liver function, kidney function และ histologic change ของหนูทั้งหมด ผลการศึกษา จากการศึกษา dermal irritancy พบว่าไม่มี erythema หรือ edema หลังการใช้ hydrocolloid (control group) และ mesh hydrogel (study group) ที่ 24 และ 72 ชั่วโมง ไม่มีความแตก ต่างกันอย่างชัดเจน รวมทั้งการศึกษา liver function, kidney function และ histologic change ก็ไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญ สรุป การใช้ mesh hydrogel สําหรับเป็นวัสดุทดแทนผิวหนังชั่วคราวใน partial thickness wound เปรียบเทียบกับ hydrocolloid ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญในหนู จึงมีความปลอดภัยต่อการ ทดลองศึกษา clinical trials ในคนต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherFaculty of Medicine, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleนิพนธ์ต้นฉบับ : การศึกษาในสัตว์ทดลองเพื่อศึกษาความปลอดภัยในการใช้ mesh hydrogel สําหรับเป็นวัสดุทดแทนผิวหนังชั่วคราวใน partial thickness wound เปรียบเทียบกับ hydrocolloiden_US
dc.title.alternativeAnimal study: A comparative evaluation in the safety of mesh hydrogel and hydrocolloid for partial thickness wound of skinen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleเชียงใหม่เวชสารen_US
article.volume56en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาออร์โธปิดิก, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาพยาธิวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.