Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุธิดา ตันเลิศen_US
dc.contributor.authorเมธี เมธาสิทธิ สุขสำเร็จen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77645/62271en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65058-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 พระสงฆ์เถรวาทนามว่าพระครูโพนสะเม็กเป็นหนึ่งในแกนนำการอพยพไพร่พลลงสู่ภาคใต้พร้อมการอุทิศตนในการสถาปนาอาณาจักรจำปาศักดิ์และชุมชนในพื้นที่ฝั่งขวาแม่นโขงรวมถึงแม่น้ำในสาขาของแม่น้ำโขงตอนกลาง ได้แก่ ร้อยเอ็ด ท่านเป็นตัวอย่างของผู้นำทางศาสนาที่ขึ้นสู่ตำแหน่งทางการเมือง-การปกครองสูงสุด บทความนี้ต้องการศึกษาและวิเคราะห์การสร้างประวัติศาสตร์พระครูโพนสะเม็กในพื้นที่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงจากมุมมองทางประวัติศาสตร์ ครอบคลุมเนื้อหา 4 ภาคส่วน ส่วนแรก การวิพากษ์หลักฐาน เนื้อหาส่วนที่สองขบวนการสร้างประวัติศาสตร์พระครูโพนสะเม็ก เนื้อหาส่วนที่สามคือผลกระทบต่อประชาชนสองฝั่งโขงในการรื้อฟื้นประวัติศาสตร์พระครูโพนสะเม็ก และเนื้อหาส่วนสุดท้ายคือบทสรุป ผลการศึกษาได้ค้นพบว่า ขบวนการสร้างประวัติศาสตร์พระครูโพนสะเม็ก ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ด้วยการเขียนพงศาวดารตำนาน บทความ และหนังสือ 4 ช่วง ช่วงที่หนึ่ง ตำนานจำปาศักดิ์ของเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนสุดท้าย ช่วงที่สอง ภายหลังการลงนามอนุสัญญาสยามฝรั่งเศส ในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ.1893 คือ ตำนานจำปาศักดิ์ พงศาวดารอิสานและหนังสือช่วงที่สามได้เกิดขึ้นในกลางทศวรรษที่ 1950 – 1991ช่วงสุดท้ายค.ศ.1992 – 2013 ชุมชนท้องถิ่นลุ่มแม่น้ำมูลและสาขาได้เริ่มสืบค้นและสร้างประวัติศาสตร์ชุมชนด้วยการเชื่อมโยงกับพระครูโพนสะเม็กการผลิตหลักฐานทั้ง 4 ชุดเป็นไปอย่างจำกัดในพื้นที่ฝั่งขวาแม่น้ำโขง คนฝั่งขวาแม่น้ำโขงมีความศรัทธาต่อพระครูโพนสะเม็กในฐานะผู้สร้างบ้านแปงเมืองและศูนย์รวมทางจิตใจen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างประวัติศาสตร์พระครูโพนสะเม็กในดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงen_US
dc.title.alternativeThe Reconstruction Pra Kru Ponsamek History on the right bank of the Mekong River.en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume4en_US
article.stream.affiliationsอาจารย์ประจำหลักสูตรประวัติศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.