Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65046
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุธิดา ตันเลิศen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:38Z-
dc.date.issued2555en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77666/62289en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65046-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractบทความนี้ได้ศึกษาพัฒนาการของ “ข่า” ซึ่งเป็นทาสในมณฑลลาว ตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือระหว่าง ค.ศ. 1779 – 1904 เน้นการนำเสนอและวิเคราะห์นิยาม “ข่า” ประเภทของทาส วิถีชีวิต ระบบเศรษฐกิจทาส และการปรับตัวให้เข้ากับระบบเศรษฐกิจ-สังคมแบบใหม่ (ค.ศ. 1893 – 1904) อันเป็นระยะหัวเลี้ยวหัวต่อของคนลุ่มแม่น้ำโขง วิธีการศึกษาได้ใช้ขบวนการวิจัยทางประวัติศาสตร์เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารชั้นต้น ชั้นรอง และชั้นที่สาม การอ่านข้อมูล การคิดวิเคราะห์นำไปสู่การสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเขียนในรูปพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า มีทาสทั้งหมด 5 ประเภท ได้แก่ ทาสเชลย ทาสวัด ทาสในเรือนเบี้ยหรือทาสมรดก ทาสสินไถ่ และทาสที่ถูกลักพาตัวหรือทาสที่ถูกไล่ล่า อันเป็นจุดกำเนิดของทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือได้พัฒนามาจากการล่าชนเผ่า (ข่า) เพื่อใช้เป็นแรงงานในรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (ราชวงศ์จักรี)en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleข่า: ทาสในมณฑลลาวตะวันออก และมณฑลลาวตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง ค.ศ. 1779 - 1904en_US
dc.title.alternativeThe Slavery in Southern Laos, between 1779 and 1904.en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume3en_US
article.stream.affiliationsอาจารย์ประจำหลักสูตรประวัติศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.