Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65023
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อเล็กซานดร้า กรีน | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:36Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:36Z | - |
dc.date.issued | 2555 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77660/62283 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65023 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | คริสต์ศักราช 1767 กองทัพพม่าได้ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาและกวาดต้อนเทครัว ผู้คนจำนวนมากไปยังบริเวณภาคกลางของพม่ารวมไปถึงช่างศิลป์และนักแสดงละคร เป็นที่เข้าใจกันว่าเหตุการณ์นี้เป็นจุดเริ่มต้นของอิทธิพลศิลปะไทยที่มีต่อศิลปะพม่ารวมไปถึงภาพจิตรกรรมฝาผนัง อย่างไรก็ดี การอพยพย้ายถิ่นของผู้คน จากดินแดนรัฐไทย ล้านนา สิบสองปันนา และรัฐฉานเข้าไปยังพม่าก็เกิดขึ้นหลายครั้งหลายโอกาสก่อนการตีกรุงศรีอยุธยาในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 แล้ว เครือข่ายการค้าและการแลกเปลี่ยนทางศาสนาระหว่างวัดต่างๆ ได้ก่อให้เกิดเส้นทางติดต่อกันระหว่างพม่า อยุธยา ล้านนา สิบสองปันนา และรัฐฉาน จึงไม่น่าแปลกใจว่าปฏิสัมพันธ์อันหลากหลายดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการสร้างงานศิลปะในพม่าก่อนการเข้าตีกรุงศรีอยุธยาและกวาดต้อนช่างศิลป์มายังบริเวณกรุงอังวะ แนวคิดที่ใช้ในภาพจิตรกรรมฝาผนังพม่าซึ่งมาจากเรื่องราววิถีชีวิตและการแต่งกายแบบไทยภาคกลางสื่อถึงการพรรณนาและวิธีการปฏิบัติทางศาสนาซึ่งพบในดินแดนรัฐไต บทความนี้ต้องการสำรวจแง่มุมเหล่านี้ในงานจิตรกรรมฝาผนังพม่าในระหว่างศตวรรษที่ 17 – 19 เพื่อสืบค้นการแพร่กระจายและผลกระทบเหล่านั้น ตลอดจนวิธีการอันหลากหลายทั้งทางด้านสังคม ศาสนา และการเมืองที่เกิดขึ้น ในท้ายที่สุดจิตรกรรมฝาผนังยังแสดงถึงมุมมองของชาวพม่าที่มีความมั่นใจในวัฒนธรรมของตนแต่ก็พร้อมที่จะรับเอาเนื้อหาบางอย่างจากภายนอก ส่วนหนึ่งเนื่องจากการมีศรัทธาร่วมกันในพระพุทธศาสนาและความสัมพันธ์ทางการเมืองที่เลื่อนไหลใน | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | จากทองคำเปลวสู่คัมภีร์พุทธประวัติ: ความเกี่ยวข้องกับภูมิภาคตะวันออกที่พบในงานจิตกรรมฝาผนังพม่ายุคหลัง | en_US |
dc.title.alternative | From Gold Leaf to Buddhist Hagiographies: Contact with Regions to the East Seen in Late Burmese Murals. | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 3 | en_US |
article.stream.affiliations | ภัณฑารักษ์เฮนรี จินส์เบิร์ก ด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แผนกเอเชีย บริติชมิวเซียม นครลอนดอน สหราชอาณาจักร | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.