Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65013
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:36Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:36Z | - |
dc.date.issued | 2555 | en_US |
dc.identifier.issn | 1906-0572 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77673/62295 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/65013 | - |
dc.description | วารสารวิจิตรศิลป์ ตีพิมพ์บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี) | en_US |
dc.description.abstract | ความเปลี่ยนแปลงที่นำศิลปะจีนจากสมัยใหม่ไปสู่ศิลปะจีนร่วมสมัยนั้น เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมาจากการก่อตั้งสาธารณรัฐจีนเมื่อ ค.ศ. 1911 และสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อ ค.ศ. 1949 ภายใต้ระบอบการปกครองสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ในอดีตนั้น ศิลปะในประเทศจีนจะอยู่ในกรอบความคิดเก่า จนกระทั่งเกิดความเคลื่อนไหวทางศิลปะครั้งแรก คือ เหตุการณ์ขบวนการ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1919 เมื่อนักศึกษาจีนและปัญญาชนได้พากันเดินขบวนเรียกร้องให้มีการปฏิรูปประเทศและการเรียนรู้วิทยาการสมัยใหม่จากต่างแดน ทำให้หลังจากนั้นเป็นต้นมาได้เกิดความแพร่หลายทางความคิดจากกลุ่มศิลปินที่สำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ภายใต้แนวความคิดที่ว่า “วาดศิลปะตะวันตกเพื่อศิลปะจีน” หรือหมายถึง “การนำเอาความรู้และวิทยาการใหม่เพื่อให้เกิดการพัฒนาไปสู่ศิลปะจีนใหม่” เมื่อจีนผลัดแผ่นดินไปเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ ได้มีการกำหนดนโยบายการสร้างศิลปะเพื่อรับใช้อุดมการณ์สังคมนิยม กลายเป็นศิลปะสะท้อนชีวิตของ ประชาชนและรับใช้การปฏิวัติ ภายใต้นโยบายที่มีคำขวัญที่ว่า “ให้ร้อยบุปผาบานสะพรั่ง ร้อยสำนักประชันแข่ง”แต่ทว่า การแสดงออกทางศิลปะต่างๆ ก็ได้ยุติลงเมื่อเกิดการปฏิวัติวัฒนธรรม ศิลปะกลายมาเป็นเครื่องมือเพื่อโฆษณาชวนเชื่อตามแบบอย่างสังคมนิยม จนกระทั่งในที่สุด เมื่อการปฏิวัติวัฒนธรรมจบสิ้นลง พร้อมๆกับการประกาศนำจีนไปสู่ความก้าวหน้าด้วยนโยบาย “4 ทันสมัย” มีการนำระบบตลาดเสรีของทุนนิยมมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษและการสร้างประเทศจีนใหม่ด้วยรูปแบบ “หนึ่งประเทศสองระบบ” จีนดำเนินนโยบายเปิดประตูสู่โลกภายนอกอย่างเต็มที่ ทำให้กระแสอิทธิพลศิลปะตะวันตกจากโลกเสรีหลั่งไหลเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงของวงการศิลปะจีนสมัยใหม่เพิ่มขึ้นทวีคูณ ได้มีการรวมตัวกันของศิลปินรุ่นใหม่ผู้มีอุดมการณ์ร่วมกันในแนวทางทำงานศิลปะแบบเดียวกันเป็นกลุ่มศิลปะ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ศิลปะจีนร่วมสมัย หนึ่งศตวรรษจากอดีตสู่ปัจจุบัน | en_US |
dc.title.alternative | Chinese art contemporary : A Century from Past to Present. | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิจิตรศิลป์ | en_US |
article.volume | 3 | en_US |
article.stream.affiliations | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.