Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64986
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธิติพล กันตีวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:34Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:34Z-
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.issn1906-0572en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/fineartsJournal/article/view/77703/62322en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64986-
dc.descriptionวารสารวิจิตรศิลป์ มีกำหนดออกปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม ประเภทของเรื่องที่จะตีพิมพ์ ได้แก่ บทความวิจัยหรือบทความงานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และบทความวิชาการทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ เป็นบทความที่เสนอองค์ความรู้ แนวคิด วิธีการ และกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาต่างๆ ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ (การวิจัยงานศิลปะ การออกแบบ ประยุกต์ศิลป์ ดนตรี การแสดง สื่อศิลปะ ปรัชญาศิลป์ สุนทรียศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ และโบราณคดี)en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยทำนองเทศน์มหาชาติ กัณฑ์มัทที ในประเพณีตั้งธัมม์หลวงของจังหวัดเชียงใหม่ โดยกระบวนการวิจัยครั้งนี้ อาศัยหลักการทางมานุษยดนตรีวิทยา (Ethnomusicology) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสำนวนบทเทศน์ ข้อมูลบริบท ลักษณะวิธีการเทศน์มหาชาติ กัณฑ์มัทที และลักษณะเฉพาะทางดนตรีในทำนองเทศน์มหาชาติ กัณฑ์มัทที ในประเพณีตั้งธัมม์หลวงจังหวัดเชียงใหม่ผลการวิจัยพบว่า การเทศน์มหาชาติ หรือเวสสันดรชาดกมีที่มาจากพระคาถาพัน เป็นภาษาบาลีอยู่ในนิบาตชาดก อันเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฏกมหาชาติ หรือ เวสสันดรชาดก ประกอบด้วยเรื่องราวทั้งหมด 13 กัณฑ์ผลการวิเคราะห์พบว่าทำนองเทศน์มหาชาติกัณฑ์มัทที ในประเพณีตั้งธัมม์หลวง ใช้สำนวนเทศน์ฉบับไผ่แจ้เรียวแดง ระบำเทศน์แบบ พร้าวไกวใบองค์ประกอบ การเทศน์มหาชาติ กัณฑ์มัททีแบ่งได้ 6 ส่วน ประกอบด้วย อาราธนาธรรมอื่อกั่นโลง กาบเก๊า ตั้งนโมฯ เนื้อธัมม์กัณฑ์มัทที และกาบปลาย การเทศน์ของชาวล้านนา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่การเทศน์ ทำนองแบบ ธรรมวัตรและการเทศน์ ทำนองแบบมหาชาติ พบเทคนิคการเทศน์ ดังนี้ ตั้ง เทียว เหลียววาง ยั้ง ขึ้น หว้าย ก่าย และยั้ง เทคนิคต่างๆ นี้จะอยู่ภายใต้กรอบ ของทำนองเทศน์4 รูปแบบ ซึ่งได้มีการกำหนด สัญลักษณ์ เพื่อช่วยในการเทศน์ดังนี้ เหินสูง ( / ) เหินต่ำ ( , ) ละม้าย (๙ ) และลงเสียง ( o ) สัญลักษณ์เหล่านี้ จะเขียนสำหรับเนื้อธัมม์เพื่อเป็นแนวทางในการเทศน์ เพื่อช่วยในการออกเสียง ควบคู่ไปกับบทเทศน์en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะวิจิตรศิลป์en_US
dc.titleเรื่อง ทำนองเทศน์มหาชาติกัณฑ์มัทที ในประเพณีตั้งธัมม์หลวงen_US
dc.title.alternativeTHE MELODIC PREACHING OF MATTHEE EPISODE FROM THE GREAT JATAKA AT THE ANNUAL GREAT PREACHINGCEREMONY (TANG DHARMA LUANG) IN CHIANGMAIen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิจิตรศิลป์en_US
article.volume1en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.