Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64978
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชรินทร์ มั่งคั่ง | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:34Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:34Z | - |
dc.date.issued | 2560 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/18000%201502242615.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64978 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | วาทกรรม “คนอีสาน” ผ่านแบบเรียนวิชาสังคมศึกษาได้ถูกประดิษฐ์ในระบบ โรงเรียนเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กับนโยบายของรัฐ่อการพัฒนาภูมิภาคของชาติ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นภายใต้วิธีคิดร่วมสมัย ได้ฉายภาพความเป้นจริงของคนอีสาน ในจินตนาการของคนไทย ภาพตัวแทนความยากจน ความโง่ ความเจ็บป่วย ความแห้งแล้ง การเป็นกลุ่มคนชายขอบจึงเป็นภาพตัวแทนในวิธีคิดของสังคมโลก ในขณะเดียวกันแบบเรียนกลับลดทอนพลังอํานาจทุนทางวัฒนธรรมของคน ชาติพันธุ์อีสาน ประสบการณ์สาธารณะในแบบเรียนรัฐชาติกลับมีอิทธิพลต่อการ สร้างภาพตัวแทนของคนชาติพันธุ์ในอีสานที่หลากหลายให้กลายเป็น “คนอีสาน” ในอุดมคติวิทยาร่วมสมัยผ่านพื้นที่ทางกายภาพของคนในสังคมไทย การเมืองคือ วิธีการที่ก่อให้เกิดความเป็นคนอีสานได้ก่อตัวขึ้นอย่างชัดแจ้งตั้งแต่มีหลักสูตร แบบแผนในพุทธศักราช 2503 จนถึง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นับเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษที่คนชาติพันธุ์ในอีสานได้ถูกทําให้ กลายเป็น “คนอีสาน” ในวิธีคิดของคนในสังคมอย่างต่อเนื่อง ภาพคนอีสานในมายา คติที่ถูกสร้างขึ้นจากแบบเรียนจึงไม่ต่างกับคนชาติพันธุ์ที่อยู่ในแต่ละภูมิภาคของ ประเทศ ซึ่งการได้รับผลกระทบจากระบบการศึกษาที่เน่นความเป็นเอกภาพได้ ตีตราในฐานะคนไร้ศักดิ์ศรี คนบ้านนอก ความพ่ายแพ้ในการช่วงชิงทรัพยากร คนรับใช้ ตัวตลก คนขอทาน ซึ่งประเด็นทางสังคมที่เกิดขึ้นล้วนมาจากการประดิษฐ์ สร้างทุนทางวัฒนธรรมที่ถูกหล่อหลอมจากหลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษา ในระบบโรงเรียน | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | วาทกรรม “คนอีสาน” ผ่านพื้นที่อุดมคติในแบบเรียนสังคมศึกษาร่วมสมัย | en_US |
dc.title.alternative | Isan People Discourse through the Ideal Space in Thailand’s Contemporary Social Studies Textbooks | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 29 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.