Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64926
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Alexander Horstmann | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:32Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:32Z | - |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/Diversity.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64926 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | พหุวัฒนธรรมนิยมเข้าสู่ประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ด้วยเพราะการเกิดขึ้นใหม่ของชาตินิยมชาติพันธุ์และการเคลื่อนไหวเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิต่างๆ ของกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนน้อย ในขณะที่คำต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเรื่องสิทธิ และการปกป้องคนกลุ่มน้อยยังคงเป็นประเด็นที่มีการช่วงชิงและเปิดกว้างสำหรับการต่อรองกัน บทความนี้นำเสนอว่าพหุวัฒนธรรมนิยมในฐานะที่เป็นวาทกรรม เพิ่งเกิดขึ้น ในประเทศไทยเมื่อไม่นานมานี้ และแนวคิดนี้ได้เข้ามาในเวลาที่หลายประเทศ ในยุโรปหรือแม้แต่ประเทศอย่างแคนาดา ที่ประสบผลสำเร็จในการใช้นโยบาย พหุวัฒนธรรมเพื่อหลอมรวมผู้อพยพ ไม่ได้ให้ความสำคัญกับแนวคิดนี้แล้ว แต่ได้ ทดแทนด้วยกระแสโลกียานุวัตรที่เพิ่มขึ้นบทความนี้นำเสนอว่ามีสัญญาณบางอย่างที่เป็นการส่งเสริมพหุวัฒนธรรมนิยมในประเทศไทย แต่ดูเหมือนว่า รัฐบาลและภาคประชาสังคมยังไม่เข้าใจถึงความจริงต่างๆ ในชนบทที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การปรับตัวขององค์กรพัฒนาเอกชนและภาคส่วนของประชาสังคมเข้าสู่ การพัฒนากระแสหลัก อาจไม่ส่งผลดีต่อกลุ่มผู้อพยพที่ เข้าสู่เมืองเชียงใหม่และ กรุงเทพฯ ด้วยเพราะวิถีชีวิตบนพื่นที่สูงกำลังเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว พวกเขาต้องพึ่งพาการส่งเงินจากลูกหลานในเมืองและจากแรงงานอพยพใน ต่างประเทศ กลับมายังหมู่บ้านในชนบท บทความยังเสนอแนะให้มีการศึกษา พหุวัฒนธรรมนิยมในระดับของความสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน ยุทธศาสตร์และ กลยุทธ์ ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างชนกลุ่มน้อยกับชนกลุ่มใหญ่ กับทั้งรูปแบบของการต่อสู้ดิ้นรนและความขัดแย้งในปัจจุบัน ซึ่งแนวทางดังกล่าวได้รับ การเปิดกว้างโดยนักวิชาการที่ทำวิจัยเกี่ยวกับพหุวัฒนธรรมนิยมในชีวิตประจำวัน ว่าด้วยการปฏิสัมพันธ์กันในพื้นที่ เมืองนอกจากนั้น บทความยังเสนอให้เพิ่ม ความสำคัญเกี่ยวกับสิทธิเพราะสิทธิต่างๆ เกี่ยวพันกับประเด็นการปฏิบัติในชีวิต ประจำวันมากกว่าคุณค่าที่เป็นนามธรรม และวาทกรรมว่าด้วยเรื่องสิทธิ | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | ความหลากหลาย ระดับ กระบวนทัศน์ของพหุวัฒนธรรมนิยมในประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Diversity, Space Levels and Approaches to Multiculturalism in Thailand | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 25 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.