Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64921
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สร้อยมาศ รุ่งมณี | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/04300%201447045348.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64921 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | ในงานชนบทศึกษา วิธีวิทยาที่สำคัญในการทำความเข้าใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงของชนบท ได้แก่ การทำงานภาคสนาม โดยวิธีวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา (Ethnography) ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่พัฒนามาจากวิธีการศึกษาของนักมานุษยวิทยา นักวิจัยจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน พื้นที่ที่ตนเองสนใจในช่วงระยะเวลาหนึ่ง แต่ในยุคปัจจุบันที่สังคมชนบทไทย เปลี่ยนแปลงไปจากยุคแรกเริ่มของงานชนบทศึกษา นำมาสู่คำถามว่าการศึกษา ชนบทโดยมุ่งความสนใจไปยังผู้คนที่อยู่อาศัยในพื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่งด้วยวิธีการแบบเดิมจะเพียงพอหรือไม่ โดยเฉพาะชนบทที่มีบริบทเฉพาะ เช่น พื้นที่ชายแดนที่ในแง่หนึ่งเป็นพื้นที่ชายขอบของรัฐ แต่อีกแง่หนึ่งก็เป็นพื้นที่เชื่อมต่อภายใต้ยุค โลกาภิวัตน์ที่ค่อยๆ ลบเส้นเขตแดนออกไปทำให้การเคลื่อนย้ายแรงงานภาคเกษตรกรรมทำได้โดยเฉพาะการอพยพข้ามแดน ผู้เขียนตั้งคำถามว่าการทำความ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงชนบทในด้านเกษตรกรรม การผลิต และความสัมพันธ์ทาง สังคมของผู้คนโดยใช้วิธีฝังตัวอยู่ในพื้นที่แห่งใดแห่งหนึ่งเป็นเวลานานดังที่งานศึกษาชนบทในยุคก่อนๆ นิยมใช้อาจไม่เพียงพอในบางกรณีในบทความนี้ ผู้เขียนจะกล่าวถึงงานวิจัยของตนเองและความจำเป็นที่ต้องเลือกใช้ชาติพันธุ์ วรรณนาพหุสนามในการเก็บข้อมูล โดยการติดตามแรงงานอพยพลาวข้ามพื้นที่ จากพื้นที่ชายแดนไทย สู่หมู่บ้านต้นทาง และสู่กรุงเทพมหานคร บทความนี้ จะอภปรายว่าการใช้วิธิวิทยาดังกล่าวทำให้ ผู้เขียนเห็นมุมมองใหม่ๆ ในการทำงานภาคสนามอย่างไรและมีความท้าทายอย่างไรบ้าง | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | ชาติพันธุ์วรรณนาแบบพหุสนามในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสังคมชนบท ณ ชายแดงอีสาน-ลาว | en_US |
dc.title.alternative | Multi-sited Ethnography in the Study of Agrarian Transformation in Northeastern Thai-Lao Borderlands | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 25 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.