Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64914
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นงเยาว์ เนาวรัตน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:31Z | - |
dc.date.issued | 2555 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/Schooling%20and%20Activism%20in%20a%20Zone%20of%20Exception.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64914 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | งานศึกษาหลายชิ้นปัจจุบัน จัดวางแม่สอดในฐานะ “พื้นที่พิเศษ” (Zone of Exception) ซึ่งมีนัยว่าองค์อธิปัตย์ ใช้กฏหมายและกฏระเบียบในมือเพื่อควบคุมและกำกับการปฏิบัติการทางเศรษฐกิจ การเคลื่อนย้ายผู้คนและสินค้าในพื้นที่ได้อย่างไม่เบ็ดเสร็จเด็ดขาด เพราะกลุ่มอำนาจอื่นๆในท้องถิ่นชายแดนสามารถเข้าถึงประโยชน์เต็มเม็ดเต็มหน่วยมากกว่าเมื่ออำนาจรัฐได้รับการละเว้นและหรือถูกหยิบใช้อย่างมีเงื่อนไข บทความนี้ ได้ตั้งคำถามกับการประยุกต์ใช้ มโนทัศน์ “Zone of Exeption” เพื่อทำความเข้าใจประเด็นการศึกษาของเด็ฏข้ามชาติในพื้นที่แม่สอด ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับการศึกษาจากศูนย์การเรียนที่ไม่มีสถานะทางกฏหมาย เด็กข้ามชาติในศูนย์การเรียน จึงถูกทอนสิทธิการศึกษา ซึ่งรัฐไทยได้ผูกพันมาตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 บทความนำเสนอกระบวนการที่รัฐในพื้นที่ควบคุมและกำกับศูนย์การเรียนซึ่งพบว่ามีทั้งการเบียดขับออกจากพื้นที่ที่มีกฏหมายรองรับ ควบคู่ไปกับการตรึงศูนย์การเรียนให้อยู่ในพื้นที่รอยต่อระหว่างมี และไม่ตัวตนทางกฏหมาย รวมทั้งการต่อสู้ดิ้นรนของศูนย์การเรียนเพื่อสถาปนาพื้นที่ปฏิบัติการการศึกษาเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมและอุดมการณ์การเมือง ในแง่นี้แสดงว่าพื้นที่พิเศษสามารถเปิดให้การเมืองของคนชายขอบเข้าสู่การเมืองรัฐในชายแดน ซึ่งมิเป็นเช่นนั้นแล้ว เด็กข้ามชาติส่วนใหญ่ยังคงถูกทอนสิทธิและโอกาศทางการศึกษา บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ผู้เขียนศึกษานโยบายรัฐไทยและการปฏิบัติการเพ่าอตอบโต้การขยายตัวศูนย์การเรียนโดยจัดเก็บข้อมูลจากศูนย์การเรียนจำนวน 12 ศูนย์ ในพื้นที่แม่สอดและภาคีหุ้นส่วน ระหว่างเดือนสิงหาคมและเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 การจัดเก็บข้อมูลได้ใช้การสัมภาษณ์และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | การศึกษาและการปฏิบัติการการเมืองในพื้นที่พิเศษ: ศูนย์การเรียนในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า | en_US |
dc.title.alternative | Schooling and Activism in a Zone of Exception: Migrant Learning Centres on the Thai-Burma Border | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 24 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.