Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64892
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Anjalee Cohen | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:30Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:30Z | - |
dc.date.issued | 2553 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/87300%201446774147.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64892 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | การกลายเป็นเมืองอย่างรวดเร็วและการเปลี่ยนแปลงไปสู่สภาวะสมัย ใหม่ในสังคมภาคเหนือของประเทศไทยในช่วง 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา ได้ ทำาให้การอพยพเคลื่อนย้ายของคนหนุ่มสาวจากหมู่บ้านชนบทเข้าสู่เมืองก่อ ตัวขึ้นอย่างกว้างขวาง ขณะที่การอพยพย้ายถิ่นได้นำาพาเยาวชนคนหนุ่มสาว ไทยไปสู่ความเป็นอิสระและการมีเสรีภาพที่เพิ่มมากขึ้น กระบวนการดังกล่าว ก็ได้สร้างสำานึกแห่งความไร้ถิ่นฐานและสภาวะตัดขาดพลัดพรากที่มากขึ้นตาม ไปด้วย ในขณะที่สำานึกชุมชนซึ่งถือเป็นรากฐานร่วมของชีวิตแบบหมู่บ้านใน ชนบทกำาลังถูกบั่นทอนลงอย่างช้าๆ หนุ่มสาวชาวเหนือจำานวนไม่น้อยกำาลัง ดิ้นรนแสวงหาทางเลือกแบบใหม่ๆ เกี่ยวกับความเป็นถิ่นฐานและสำานึกเกี่ยว กับตัวตนในบริบทใหม่ของพื้นที่แบบเมือง จากงานศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณ นาราวๆ 18 เดือน บทความชิ้นนี้ศึกษาสำารวจการอุบัติขึ้นของวัฒนธรรมย่อย ในกลุ่มวัยรุ่นในเมืองเชียงใหม่และพรรณนาให้เห็นถึงกระบวนการต่างๆ ที่ กลุ่มคนหนุ่มสาวเหล่านี้ประกอบสร้างอัตลักษณ์ผ่านขอบข่ายเชิงสัญลักษณ์ ต่างๆ ของบริโภคนิยม และ “ทุนวัฒนธรรมย่อย” บทความจะแสดงให้เห็นถึง กระบวนการที่กลุ่มเยาวชนวัฒนธรรมย่อยซึ่งได้รับอิทธิพลจากกระแสวัฒนธรรม โลก, หรือ “เด็กอินเตอร์” พยายามที่จะก่อร่างสร้าง “ตัวตนสมัยใหม่” ผ่าน การประกอบสร้างขอบข่ายวัฒนธรรมย่อยและการจัดจำาแนกแยกคนกลุ่มอื่น ที่ดู “ล้าหลังไม่ทันสมัย” กลุ่มที่เรียกว่า “เด็กแซบ” ออกไป บทความจะชี้ ให้เห็นว่าคนหนุ่มสาวชาวเหนือในฐานะผู้กระทำาทางสังคมสามารถสร้างสรรค์ สำานึกในถิ่นฐานและอัตลักษณ์วัยรุ่นที่แตกต่างขึ้นมาได้อย่างไร ณ จุดปะทะ ประสานระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นกับระบบทุนนิยมโลก | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title.alternative | Northern Thai Youth and “Subcultural Capital” in Chiang Mai City | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 22 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.