Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64864
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Craig J. Reynolds | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:29Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:29Z | - |
dc.date.issued | 2551 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/A%20Very%20Short%20History%20of%20Anthropology.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64864 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | ในฐานะนักประวัติศาสตร์ ซึ่งสนใจประวัติศาสตร์ของความคิด และปัญญาชน ข้าพเจ้าได้เรียนรู้หลายอย่างจาก อานันท์ กาญจนพันธุ์ นักมานุษยวิทยาผู้ซึ่งคิดอย่างเป็นประวัติศาสตร์ งานวิทยานิพนธ์ระดับ ปริญญาโท ปี 2519 ของอานันท์นั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นิพนธ์ ของล้านนาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 21 และ 22 และราวๆ ครึ่งหนึ่งของงาน วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ปี 2527 เรื่องกระบวนการเปลี่ยนแปลงเข้า สู่ระบบตลาดบางส่วนของการผลิตข้าว ก็เป็นงานศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ ว่าด้วยการเกษตรกรรมในภาคเหนือของไทยนับจากกลางพุทธศตวรรษที่ 19 เปน็ตน้มาจนกระทัง่ถงึป ี2497 นบัจากนัน้มางานวจิยัของอานนัทไ์ดมุ้ง่ เน้นให้ความสนใจต่อการศึกษาประเด็นปัญหาเกี่ยวกับเรื่อง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบตลาดของการผลิตข้าวในภาคเหนือของไทย พิธีกรรมไหว้ผี ระบบการสืบทอดเชื้อสายทางฝ่ายแม่ ชนชั้น พิธีกรรมของ ท้องถิ่นล้านนากับปฏิสัมพันธ์ด้านต่างๆ ที่มีต่อเจ้าหน้าที่รัฐและอำานาจ ของรฐัไทยสว่นกลาง การถอืครองทดี่นิและความเปน็ชาวนา ชมุชนกบัการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ (ดิน ป่า นำ้า) สิทธิชุมชนในที่ดินและการเข้าถึง ทรัพยากรธรรมชาติ และล่าสุด คือเรื่องเกี่ยวกับ ทฤษฎีและวิธีคิด ในเชิง มานุษยวิทยา นักประวัติศาสตร์เลือกที่จะให้อรรถาธิบายถึงเงื่อนไขต่างๆ ของปจัจบุนัดว้ยการมองยอ้นกลบัไปในอดตี และเพอื่ใหภ้ารกจิทางวชิาการ ดังกล่าวบรรลุผล พวกเขามองหาแบบแผนความคล้ายคลึงต่างๆ ระหว่าง อดีตกับปัจจุบัน ดังนั้นต่อคำาถามที่ว่า ใครคือสายธารความคิดที่ดำารงอยู่ ก่อนหน้า อานันท์ กาญจนพันธุ์ ในบริบทประวัติศาสตร์มานุษยวิทยาไทย เพื่อที่จะตอบคำาถามดังกล่าว เกี่ยวกับ ต้นธารทางปัญญาของอานันท์ ในบทความนี้ข้าพเจ้าอยากจะเสนอสังเขปประวัติศาสตร์ว่าด้วย อานันท์ กาญจนพันธุ์ ประวัติศาสตร์ของความคิดซึ่งอานันท์อาจไม่ได้ตระหนักว่า ท่านนั้นเป็นส่วนหนึ่งของบริบททางความคิดดังกล่าว | en_US |
dc.language | Eng | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | สังเขปประวัติศาสตร์ว่าด้วยมานุษยวิทยาใน ประเทศไทย อ้างอิงโดยเฉพาะภาคเหนือ | en_US |
dc.title.alternative | A Very Short History of Anthropology in Thailand with Special Reference to the North | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 20 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.