Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64858
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัฒนา กิติอาษาen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:29Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:29Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.urihttp://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/91500%201446536054.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64858-
dc.descriptionวารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการen_US
dc.description.abstractกำาเนิดและพัฒนาการของวิชามานุษยวิทยาในสยามประเทศไม่ได้ เริ่มต้นเพราะโครงการวิจัยไทยแลนด์-คอร์แนลในช่วงหลังสงครามโลกครั้ง ที่สอง เนื้อหาหลักของบทความนี้ต้องการจะขยายเพดานประวัติศาสตร์ ของวชิามานษุยวทิยาออกไปอยา่งนอ้ยกใ็นชว่งทชี่นชนั้นำาสยามสรา้งชาติ และเปิดประตูสู่ความทันสมัยตามแบบตะวันตกในรัชสมัยของรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา ผู้เขียนนำาเสนอว่าวิชามานุษยวิทยาแบบ “คนมองคน” นั้น มีรากฐานอยู่ที่จารีตงานชาติพันธุ์นิพนธ์ โดยเฉพาะจารีตงานที่ชนชั้นสูง ข้าราชการ และปัญญาชนสยามเป็นผู้สร้างขึ้น จารีตงานชาติพันธุ์นิพนธ์ ของสยามมีพัฒนาการอย่างแนบแน่นอยู่กับระบบวัฒนธรรมการผลิต บริโภคและส่งผ่านองค์ความรู้แบบดั้งเดิมของไทย โดยเฉพาะวัฒนธรรม ราชการแบบเจ้าขุนมูลนาย (วัง) และวัฒนธรรมพุทธศาสนา (วัด) ด้วย จารีตงานชาติพันธุ์นิพนธ์เหล่านี้ วิชามานุษยวิทยาจึงมีรากเหง้าและ ตำาแหนง่แหง่ทใี่นสงัคมไทยมานานกอ่นการมาเยอืนของการเรยีนการสอน และการวจิยัทางมานษุยวทิยาตามแนวตะวนัตกในสถาบนัการศกึษาอยา่ง เป็นทางการen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์en_US
dc.title“มานุษยวิทยาแบบคนมองคน”: ข้อสังเกตเบื้องต้นว่าด้วย กำาเนิดและพัฒนาการของงาน ชาติพันธุ์นิพนธ์ในสยามen_US
dc.title.alternativeNotes on an Early History of Ethnography in Siamen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารสังคมศาสตร์en_US
article.volume20en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.