Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64840
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วสันต์ ปัญญาแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:28Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:28Z | - |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.soc.cmu.ac.th/issue_upload/29900%201446190037.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64840 | - |
dc.description | วารสารสังคมศาสตร์ เป็นวารสารวิชาการของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ดำเนินการมานับตั้งแต่ปีพ.ศ.2513 โดยการทำงานร่วมกันของคณาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมีอาจารย์จากภาควิชาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยทำหน้าที่เป็นกองบรรณาธิการ | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้พยายามสำ รวจทบทวนงานเขียนชิ้นสำ คัญๆ ของ ชาร์ลส์ เอฟ คาย ส์ นักมานุษยวิทยาอเมริกัน ผู้วางรากฐานอย่างสำ คัญต่อทิศทางและการศึกษาด้าน มานุษยวิทยาวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนคุณูปการต่างๆ ที่งาน ศึกษาของนักมานุษยวิทยาท่านนี้มีต่อการศึกษาวัฒนธรรมของชนชาติไท หรือ ไท ศึกษา เมื่อ “อ่าน” คายส์ ในฐานะที่เป็นนักมานุษยวิทยาแนวเวเบอร์เรี่ยน จะเห็น ว่างานศึกษาด้านนี้ของ คายส์ ต่างล้วนมุ่งเน้นให้ความสำ คัญต่อ ประเด็นปัญหา ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องพัวพันกับ “ชะตากรรม” ของชนชาติไทภายใต้บริบทประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์เชิงอำ นาจ การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สภาวะสมัยใหม่ และการก่อตัวขึ้นมา ของรัฐชาติในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความสนใจในประเด็นปัญหาดังกล่าว นี้เองที่ต่อมาโน้มนำ ให้ คายส์ หันเหความสนใจมาสู่การวิเคราะห์ศึกษา การเมือง ของความเป็นชาติพันธุ์ อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์ การเมืองของความเป็นชาติ พันธุ์ดังกล่าวของคายส์ กลับมีแนวโน้ม หรือ “เลือก” ที่จะศึกษาทำ ความเข้าใจ ปรากฏการณ์ดังกล่าวเหล่านั้นในเชิงสถาบัน ผ่านปฏิบัติการทางอำ นาจต่างๆ ของ รัฐชาติ กระทั่งมองข้ามหรือละเลยปรากฏการณ์และประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ในระดับชีวิตประจำ วัน บทความนี้เสนอว่าหาก “สานต่อ” แนวการศึกษาการเมือง ของความเป็นชาติพันธุ์ของ คายส์ ด้วยการเน้นให้ความสำคัญต่อการวิเคราะห์ กระบวนการทางอำ นาจเหล่านั้นผ่านปฏิบัติการต่างๆ หรือ การเมืองอัตลักษณ์ ของ ผู้คนธรรมดาสามัญในระดับชีวิตประจำ วัน การ “สานต่อ” ทางวิชาการดังกล่าว นอกจากจะชี้ให้เห็นถึงคุณูปการ (และข้อจำ กัด) จากงานศึกษาของ คายส์ ยังถือ เป็นการนำ เสนอ “ทางเลือก” สำคัญต่องานศึกษาทางด้านมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ในเขตลุ่มน้ำ โขงตอนบน ตลอดจนแวดวงไทศึกษาในบริบทใหม่ของการพัฒนาระดับ ภูมิภาค และการเคลื่อนย้ายถ่ายโอนของทุน ผู้คน สินค้า ข่าวสาร และวัฒนธรรม ข้ามพรมแดนรัฐชาติยุคโลกาภิวัตน์ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสังคมศาสตร์ | en_US |
dc.title | ชาร์ลส์ เอฟ คายส์ กับทิศทางใหม่ในไทศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Charles F. Keyes and the New Direction in Tai Studies | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารสังคมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 19 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.