Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุรพงศ์ บางพานen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:27Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:27Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_2/07Surapong.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64827-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractดัชนีความสามารถของกระบวนการเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสาหรับปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของคุณภาพ เทคนิคการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติเป็นการปรับปรุงคุณภาพสาหรับการผลิต ดังนั้นในการศึกษานี้จะทาการวิเคราะห์ ด้วยความสามารถของกระบวนการเพื่อพิจารณาถึงความสามารถของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการตัดชิ้นทดสอบ ความแข็งด้วยเครื่องตัด วัตถุประสงค์ในงานวิจัยนี้ ได้นาแผนผังความน่าจะเป็นแบบปกติและแผนภูมิควบคุม X  R chart ด้วยดัชนีความสามารถของกระบวนการซึ่งประกอบด้วยค่า Cp และ CR เป็นค่าที่ใช้ในการคำนวณ ส่วนการวัดค่าที่ได้จาการ คำนวณนั้นจะนำมาทำการปรับปรุงระดับคุณภาพโดยได้ทำการปรับเปลี่ยนค่าเฉลี่ยของกระบวนการให้เข้าใกล้เคียง ค่าเป้าหมายมากที่สุดและจาเป็นต้องทำการลดความผันแปรในกระบวนการตัดชิ้นทดสอบความแข็งด้วยเครื่องตัด ผลลัพธ์ ทั้งหมดที่ได้นี้มีความเชื่อถือได้โดยเราสามารถสรุปได้ว่าขบวนการอยู่ภายใต้การควบคุม กล่าวคือความสามารถของ กระบวนการ Cp เพิ่มขึ้นจาก 0.64 ถึง 3.72 ซึ่งแสดงด้วยผลการดำเนินการด้วยเทคนิคการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติที่ ได้ทำการปรับปรุงจนประสบความสาเร็จในการปรับปรุงสมรรถนะสำหรับกระบวนการในการตัด โดยที่อัตราส่วนของ ความสามารถ (CR) ลดลงจาก 1.157 ถึง 0.269 ซึ่งหมายถึงกระบวนการนี้มีค่าพิกัดความเผื่ออยู่ที่ 27%en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleความสามารถกระบวนการของการตัดชิ้นทดสอบความแข็งโดย การประยุกต์เทคนิคเชิงสถิติen_US
dc.title.alternativeProcess Capability Indices of a Hardness Specimen Cutting Process by the Application of Statistical Techniquesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume23en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.