Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64822
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธมลวรรณ เขียวปาน | en_US |
dc.contributor.author | กูสกานา กูบาฮา | en_US |
dc.contributor.author | พัฒนะ รักความสุข | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:27Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:27Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_1/7Thamolwan.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64822 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะเชิงอุณหภาพของฟิล์มติดกระจกรถยนต์ชนิดต่างๆ คือฟิล์มกรองแสง ฟิล์มกรองแสงกันความร้อนและฟิล์มนิรภัยกรองแสงกันความร้อน ในการศึกษานี้จะทาการทดลองกับรถยนต์นั่งขนาดเล็ก และพัฒนาแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ขึ้นโดยใช้ MATLAB เพื่อประเมินอุณหภูมิผิว อุณหภูมิการแผ่รังสีเฉลี่ยและ ปริมาณความร้อนที่ผ่านกระจกติดฟิล์มเข้าสู่ห้องโดยสาร ผลการศึกษาพบว่า ฟิล์มทั้ง 3 ชนิด ที่มีความเข้มแสงสูงจะมี อุณหภูมิผิวด้านในสูง ในทางกลับกันฟิล์มค่าความเข้มแสงต่า อุณหภูมิผิวด้านในของกระจกจะมีค่าต่า แต่เมื่อพิจารณา อุณหภูมิการแผ่รังสีเฉลี่ย พบว่า ฟิล์มกรองแสงกันความร้อนจะสามารถลดอุณหภูมิการแผ่รังสีเฉลี่ยดีที่สุดประมาณ 6.8 ๐C ในขณะที่ฟิล์มนิรภัยกันความร้อนและฟิล์มกรองแสงธรรมดาจะลดอุณหภูมิการแผ่รังสีเฉลี่ยประมาณ 5.5 ๐C และ 4 ๐C ตามลาดับ (ที่ระดับความเข้มแสงเท่ากัน) เมื่อทาการวิเคราะห์ปริมาณความร้อนที่ถ่ายเทผ่านกระจกเข้าสู่ห้องโดยสารรถยนต์ แล้วพบว่า ปริมาณความร้อนส่งผ่านกระจกบานหน้าสูงถึง 42% สาหรับกรณีรถยนต์ไม่ติดฟิล์ม ปริมาณความร้อนที่เข้าสู่ ห้องโดยสาร 1,638 W แต่เมื่อติดฟิล์มกรองแสงกันความร้อน ปริมาณความร้อนที่เข้าสู่ห้องโดยสารจะลดลงได้ถึง 940 W หากติดฟิล์มฟิล์มนิรภัยกรองแสงกันความร้อนและฟิล์มกรองแสง พบว่าปริมาณความร้อนที่เข้าสู่ห้องโดยสารจะลดลงได้ มากที่สุด 815 W และ 534 W ตามลาดับ คิดเป็น 57%, 50% และ 33% ตามลาดับ และจากการศึกษายังพบว่า ฟิล์มกันความ ร้อนที่ดีควรจะมีค่า SHGC ต่ากว่า 0.47 (47%) | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | สมรรถนะเชิงอุณหภาพของฟิล์มติดกระจกรถยนต์ชนิดต่างๆ | en_US |
dc.title.alternative | Thermal Performance of Various Window Films for Vehicles | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 23 | en_US |
article.stream.affiliations | คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | en_US |
article.stream.affiliations | คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | en_US |
article.stream.affiliations | คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.