Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฮานาน ซาเระen_US
dc.contributor.authorกูสกานา กูบาฮาen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:27Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:27Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/23_1/6Hanan.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64813-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractที่นามาศึกษามี 3 รูปแบบ ได้แก่ หลังคาจั่ว หลังคาปั้นหยา และหลังคาเพิงหมาแหงน ซึ่งทั้งหมดพิจารณาเฉพาะที่ มุมเอียง 30 องศากับแนวระดับ โดยทาการศึกษากรณีใช้กระเบื้องคอนกรีตและเมทัลชีทเป็นวัสดุมุงหลังคา และทาการ เปรียบเทียบที่ค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์ของวัสดุหลังคาเท่ากับ 0.6, 0.4 และ 0.2 รวมถึงมีการติดฉนวนบนฝ้าเพดานของ หลังคาแต่ละแบบ การศึกษานี้ใช้โปรแกรม TRNSYS 17 ในการประมวลการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่ตัวบ้าน ผลการศึกษา พบว่า หลังคาจั่ว ปั้นหยา และเพิงหมาแหงนที่ใช้เมทัลชีทเป็นวัสดุมุงหลังคาจะมีความร้อนเข้าบ้านสูงกว่ากรณีใช้กระเบื้อง คอนกรีต 29.26%, 25.38% และ 35.07% ตามลาดับ การใช้วัสดุมุงหลังคาที่มีค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์เท่ากับ 0.6 จะ มีความร้อนผ่านหลังคามากกว่ากรณีค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์เท่ากับ 0.4 และ 0.2 ถึง 25.24% และ 50.48% ตามลาดับ โดยที่หลังคาจั่วมุงด้วยกระเบื้องคอนกรีตที่มีค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์ 0.2 จะมีความร้อนเข้าบ้านผ่านหลังคาน้อยที่สุด เท่ากับ 3614.4 kWh/y การติดฉนวนบนฝ้าเพดานของหลังคาทั้ง 3 แบบ ทั้งที่ใช้วัสดุกระเบื้องคอนกรีตและเมทัลชีท รวมทั้งมีค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์เท่ากับ 0.6, 0.4 และ 0.2 พบว่า มีปริมาณความร้อนที่ผ่านหลังคาเข้าสู่ตัวบ้านใกล้เคียง กัน ซึ่งมีค่าลดลงจากกรณีที่ไม่มีการติดฉนวน 57.85 – 79.15% เมื่อพิจารณาความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์แล้ว พบว่า หลังคาที่ดีที่สุด คือ หลังคาจั่วมุงด้วยเมทัลชีทที่มีค่าการดูดกลืนรังสีอาทิตย์ของวัสดุเท่ากับ 0.2 และมีการติดฉนวนบนฝ้า เพดานมีผลตอบแทนเชิงเศรษฐศาสตร์ดีที่สุด กล่าวคือใช้เงินลงทุนพียง 58,216 บาท และมีค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า เนื่องจากการปรับอากาศเพียง 1,226.54 บาทต่อปี และมีระยะเวลาคืนทุน 6.9 ปีen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleหลังคาที่เหมาะสมสาหรับบ้านพักอาศัยในเขตภูมิอากาศร้อนชื้นen_US
dc.title.alternativeThe Appropriate Roof for Residence in Hot and Humid Climateen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume23en_US
article.stream.affiliationsคณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีen_US
article.stream.affiliationsคณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.