Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64696
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจรัล ขันธุ์ศรีen_US
dc.contributor.authorสุเทพ นิ่มนวลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/18_1/6Jarul.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64696-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาเปอร์เซ็นต์การอัดตัวระบายน้ำเฉลี่ยอันเนื่องมาจากการอัดตัวระบายน้ำ ตามแนวรัศมีของชั้นดินเหนียวเอกพันธุ์ โดยที่สัมประสิทธิ์การซึมได้และสัมประสิทธิ์การอัดตัวได้ของดินเปลี่ยนแปลงไป ขณะที่เกิดการอัดตัวระบายน้ำและคำนึงถึงผลของผิวเสียดสี ทรายระบายที่นำมาวิจัยมีผังของหลุมทรายระบายเป็นรูปแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ชั้นดินเป็นดินที่มีอัตราส่วนดัชนีการอัด ตัวของดินต่อดัชนีการซึมได้เท่ากับ 0.5, 1, 1.5 และอัตราส่วนความเค้นกดอัดประสิทธิผลตอนสิ้นสุดการอัดตัวระบายน้ำต่อ ความเค้นกดอัดประสิทธิผลตอนเริ่มต้นเท่ากับ 1.0000000001, 2, 4, 6 อัตราส่วนค่าสัมประสิทธิ์การซึมได้ของผิวเสียดสีต่อ ค่าสัมประสิทธิ์การซึมได้ตามแนวรัศมีของดินคงสภาพรอบหลุมทรายระบายเท่ากับ 1, 0.5, 0.25, 0.05 อัตราส่วนรัศมีของผิว เสียดสีต่อรัศมีของหลุมทรายระบายเท่ากับ 1.01, 1.05, 1.1 1.2 อัตราส่วนรัศมีภายนอกประสิทธิผลต่อรัศมีของหลุมทราย ระบายเท่ากับ 10, 20 ผลการวิเคราะห์โดยระเบียบวิธีผลต่างอันตะคิดการอัดตัวระบายน้ำตามทฤษฎีของ Berry and Wilkinson (1969) คิดผิวเสียดสีตามสมมุติฐานของ Barron (1948) และความเครียดเกิดขึ้นได้อย่างอิสระที่ผิวชั้นดิน ภายใต้น้ำหนักบรรทุก เพิ่มขึ้นฉับพลันทันทีแล้วคงตัวตลอดการอัดตัวระบายน้ำพบว่าเปอร์เซ็นต์การอัดตัวระบายน้ำเฉลี่ยไม่ได้ลดลงเสมอไปเมื่อ ค่าสัมประสิทธิ์การซึมได้ของผิวเสียดสีต่อค่าสัมประสิทธิ์การซึมได้ตามแนวรัศมีของดินคงสภาพของหลุมทรายระบายมีค่า มากกว่า 0.25en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการอัดตัวระบายน้ำตามแนวรัศมีของดินเหนียว โดยใช้ทรายระบาย ที่คำนึงถึงผลของผิวเสียดสีen_US
dc.title.alternativeRadial Consolidation of Clay by Sand Drain Considering Smear Effecten_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume18en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.