Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศรายุทธ จำรูญสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorชัชวาลย์ ชัยชนะen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/18_1/2Sarayuth.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64692-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractย่างกระจัดกระจายและมีความหนาแน่นทางพลังงานต่ำจึงทำให้ค่าใช้จ่ายในการขนส่งจากแหล่งกำเนิดมายังจุดแปรรูป พลังงานสูง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการคัดเลือกจุดแปรรูปพลังงานที่มีความเหมาะสมทางด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อลดต้นทุนค่า ขนส่ง ในการศึกษานี้ได้จัดทำแบบจำลองเพื่อใช้คัดเลือกจุดแปรรูปพลังงาน โดยแบ่งแบบจำลองออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วน การศึกษาระบบโลจิสติกส์ เพื่อหาแหล่งที่ตั้งในการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากชีวมวลที่มีต้นทุนในการดำเนินการต่ำที่สุด ส่วน การศึกษาเทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิงแบบสองขั้นตอน เพื่อหากำลังการผลิตไฟฟ้าที่เหมาะสมกับพื้นที่ และส่วน สุดท้ายเป็นการประเมินความเป็นไปได้ทางการเงินตลอดอายุการใช้งานของโรงไฟฟ้า โดยใช้ข้อมูลของจังหวัดเชียงรายใน การทดสอบแบบจำลอง ผลการคำนวณพบว่า ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีทำเลที่ตั้งที่สามารถใช้เป็นจุดแปรรูปพลังงานได้ 3 แห่ง คือ จุดแรก ตั้งอยู่ที่ ตำบลท่าสาย อำเภอเมืองเชียงราย ซึ่งควรมีกำลังการผลิตไฟฟ้า 1.6 MW และมีอัตราผลตอบแทนทางการเงินตลอด อายุการใช้งานของโรงไฟฟ้า คือ ที่อัตราลดค่า 5 % ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 51,132,920 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 5.7 ปี และมี อัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 16 % จุดสองตั้งอยู่ที่ ตำบลสันทราย อำเภอแม่จัน ซึ่งควรมีกำลังการผลิตไฟฟ้า 5.2 MW และมีอัตราผลตอบแทนทางการเงิน คือ ที่อัตราลดค่า 5 % ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 262,062,092 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 4.1 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 23 % จุดสุดท้ายตั้งอยู่ที่ ตำบลสันกลาง อำเภอพาน ซึ่งควรมีกำลังการผลิตไฟฟ้า 2.6 MW และมีอัตราผลตอบแทนทางการเงิน คือ ที่อัตราลดค่า 5 % ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 98,429,171 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 4.9 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 19 %en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการคัดเลือกแหล่งที่ตั้งของโรงไฟฟ้าขนาดเล็กเพื่อการผลิตไฟฟ้า จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรen_US
dc.title.alternativeSite Selection of Small Power Plant for Electricity Generation from Agricultural Residuesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume18en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.