Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64690
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชัชวาล คำวงศ์en_US
dc.contributor.authorพฤกษ์ อักกะรังสีen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.issued2554en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/18_1/1Chatchawal.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64690-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractในระบบผลิตพลังงานทดแทนจากก๊าซชีวภาพ มักพบปัญหาการใช้งานจากการเจือปนของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ที่ปะปนอยู่ในก๊าซชีวภาพจากกระบวนการหมักย่อยสารอินทรีย์แบบไร้อากาศ การเติมอากาศซึ่งมีส่วนผสมของออกซิเจน สามารถก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมีและชีวเคมี ส่งผลให้ไฮโดรเจนซัลไฟด์เปลี่ยนองค์ประกอบเป็นสารประกอบอื่นๆ ที่มี ผลกระทบต่ออุปกรณ์น้อย อย่างไรก็ตามการเติมอากาศเข้าสู่ระบบก๊าซชีวภาพในอัตราส่วนและวิธีการที่ไม่ถูกต้องสามารถ ก่อให้เกิดอันตราย รวมทั้งสามารถลดทอนประสิทธิภาพของระบบได้เช่นกัน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสัดส่วนและ รูปแบบการเติมอากาศที่เหมาะสม ในการลดความเข้มข้นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพ ที่ผลิตก๊าซชีวภาพจาก น้ำเสียจากมูลสุกรโดยใช้กระบวนการหมักย่อยแบบไร้อากาศ โดยทำการออกแบบและติดตั้งระบบเติมอากาศเข้ากับระบบ ต้นแบบบ่อหมักรางของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขนาดความจุ 1 ลูกบาศก์เมตรน้ำเสีย เพื่อหาอัตราการเติมอากาศที่เหมาะสม รวมทั้งผลกระทบของการเติมอากาศต่อประสิทธิภาพการหมักย่อย ผลการทดลองพบว่า การเติมอากาศแบบต่อเนื่องที่ สัดส่วน 3.0% ของปริมาตรก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้เฉลี่ย เป็นสัดส่วนการเติมอากาศต่ำสุดที่ทำให้ความเข้มข้นของก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่ออกจากระบบลดลงจากค่าเฉลี่ย 412 ppm จนถึงระดับที่ไม่สามารถตรวจวัดได้พบภายใน 24 ชั่วโมง โดยพบว่า ระบบยังคงศักยภาพการหมักย่อยสารอินทรีย์ได้ในระดับไม่ต่ำกว่า 90% โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมี นัยสำคัญต่อการเติมอากาศ ก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้มีสัดส่วนของก๊าซมีเทนลดลงจากการเติมอากาศไม่เกิน 2.0% อยู่ในระดับ ไม่ต่ำกว่า 71% ซึ่งสามารถนำไปใช้ผลิตพลังงานทดแทนได้ตามปกติen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleเงื่อนไขการผสมอากาศที่เหมาะสมในการลด ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้จาก บ่อบำบัดมูลสุกรแบบรางen_US
dc.title.alternativeSuitable Air Mixing Conditions for Reduction Hydrogen Sulfide in Biogas Produced from Piggery Manure in Channel Digesteren_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume18en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.