Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพงษ์ศักดิ์ เกตุคำen_US
dc.contributor.authorดร.วรพจน์ เสรีรัฐen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:20Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/17_3/7Pongsak.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64687-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอการออกแบบวิธีการปรับปรุงสมรรถนะเครื่องประกอบชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติโดยการประยุกต์ใช้ระบบ RFID และสรุปแนวทางการออกแบบที่นำประยุกต์ใช้กับเครื่องประกอบ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ ในการออกแบบวิธีการปรับปรุงสมรรถนะเครื่องประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ จะทำการแก้ปัญหา 2 หัวข้อที่มีผลต่อสมรรถนะเครื่องจักรลดลง คือ 1. การป้อนกล่องวัตถุดิบผิดตำแหน่งให้กับเครื่องจักรของพนักงาน 2. การหยุดการทำงานของเครื่องจักรเนื่องจากการรอพนักงานเปลี่ยนกล่องวัตถุดิบ โดยการทดลองได้ใช้หัวอ่าน RFID ในย่านความถี่ 13.56 MHz และ แถบ RFID ที่มีหน่วยความจำ 112 bytes เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลของกล่องวัตถุดิบ โดยระบบ RFID จะถูกควบคุมการทำงานจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้วัจัยได้ใช้ โปรแกรม Visual Basic ในการเขียนลำดับการทำงานของระบบ RFID และแสดงผลของการทำงานผ่านทางหน้า จอคอมพิวเตอร์ ซึ่งการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของระบบ RFID โดยจำลองจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงโดยใช้ หลักทางสถิติเพื่อหากรณีความเป็นไปได้ของการเกิดความผิดพลาดของการป้อนกล่องวัตถุดิบผิดตำแน่งให้กับเครื่องจักร ของพนักงาน ซึ่งพบว่าระบบ RFID สามารถป้องกันการป้อนกล่องวัตถุดิบผิดตำแหน่งให้กับเครื่องจักรของพนักงาน และ สามารถเตือนให้พนักงานทำการเปลี่ยนกล่องวัตถุดิบใหม่ก่อนที่เครื่องจักรจะหยุดการทำงาน ทำให้สามารถเพิ่มสมรรถนะเครื่องประกอบชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการออกแบบวิธีการปรับปรุงสมรรถนะเครื่องประกอบชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติโดยใช้อาร์เอฟไอดีen_US
dc.title.alternativeDesign Method to Improve of Automatic Electronic Component Insertion Machine Performance Using RFIDen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume17en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.