Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64684
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุรชัย ทองสุรส | en_US |
dc.contributor.author | วัสสนัย วรรธนัจฉริยา | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:19Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:19Z | - |
dc.date.issued | 2553 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2178 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/17_3/4Surachai.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64684 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำวิธีการออกแบบการทดลองแบบพื้นผิวผลตอบ มาประยุกต์ใช้ในการหาค่าที่ เหมาะสมของการผลิตโพลาร์เพลตสำหรับเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอน โดยใช้กระบวนการขึ้นรูปแบบ กดอัดด้วยแม่พิมพ์จากเครื่องกดอัดขึ้นรูป โดยแผ่นชิ้นงานที่ใช้ในการทดลองจริง จะมีความหนา 5 มิลลิเมตร, สนามการ ไหลของก๊าซมีขนาด กว้าง x ยาว เท่ากับ 70 x 70 ตารางมิลลิเมตร ช่องการไหลของก๊าซมีขนาดกว้าง 1 มิลลิเมตรและลึก 1 มิลลิเมตร, ลักษณะการไหลเป็นแบบ serpentine โดยปัจจัยที่ทำการศึกษาประกอบด้วย 3 ปัจจัย คือ แรงกดอัดขึ้นรูป, ระยะเวลาที่ใช้ในการกดอัดขึ้นรูป และอุณหภูมิที่ใช้ในการกดอัดขึ้นรูป เมื่อวิเคราะห์ผลโดยวิธีการทดสอบความเรียบผิวบน ชิ้นงานและความโก่งของชิ้นงานหลังจากทำการกดอัดขึ้นรูป พบว่าแรงกดอัดขึ้นรูปที่ 1,400 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว, ระยะเวลา ที่ใช้ในการกดอัดขึ้นรูปที่ 5 นาที และอุณหภูมิที่ใช้ในการกดอัดขึ้นรูปที่ 125 องศาเซลเซียส มีความเหมาะสมที่สุดในการขึ้น รูปชิ้นงานด้วยวิธีการกดอัดขึ้นรูป ทำให้ได้ค่าความเรียบผิว 2.39 ไมโครเมตร และค่าความโก่งของชิ้นงานโดยเฉลี่ย 0.3 มิลลิเมตร | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการขึ้นรูปโพลาร์เพลต จากพอลิเมอร์ผสม | en_US |
dc.title.alternative | Appropriate Forming Conditions for Polymer Composite Polar Plate | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 17 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.