Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64677
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิรศักดิ์ ปัญญาen_US
dc.contributor.authorธงชัย ฟองสมุทรen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:19Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:19Z-
dc.date.issued2553en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/17_2/4Jirasak.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64677-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของแรงปฏิกิริยาที่ขอบรองรับแบบหนีบยึดต่อระยะแอ่นตัวและการกระจายความเค้นของแผ่นบาง โดยพิจารณาหาสมการระยะแอ่นตัวและความเค้นที่คิดผลของแรงปฏิกิริยาที่ขอบรองรับแบบหนีบยึด ร่วมด้วย แล้วคำนวณค่าระยะแอ่นตัวและความเค้นที่ได้จากสมการดังกล่าวเทียบกับผลการคำนวณโดยวิธีของ Lévy – Nádai โดยเงื่อนไขการรองรับของแผ่นบางทั้งสองกรณี คือ ขอบสองด้านรองรับแบบหนีบยึดส่วนขอบอีกสองด้านรองรับแบบธรรมดา เปลี่ยนค่าตัวแปรต่างๆ ดังนี้ เปลี่ยนอัตราส่วนของด้าน b/a ทั้งหมด 14 อัตราส่วน และเปลี่ยนภาระที่กระทำกับแผ่นบางทั้งหมด 5 ขนาด จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ระยะแอ่นตัวที่คำนวณได้มีค่าน้อยกว่าที่คำนวณโดยวิธีของ Lévy – Nádai ทุกๆอัตราส่วน b/a ในส่วนผลของค่าความเค้น พบว่า กรณีที่อัตราส่วน b/a น้อยกว่า 0.8 ค่าความเค้นที่คำนวณได้จากสมการที่คิดขึ้นมาใหม่จะมีค่าสูงกว่าที่คำนวณโดยวิธีของ Lévy – Nádai โดยมีความแตกต่างมากที่สุด 6.946 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่ออัตราส่วน b/a ตั้งแต่ 0.8 ขึ้นไป ค่าความเค้นที่คำนวณได้จะเริ่มมีค่าน้อยกว่าที่คำนวณโดยวิธีของ Lévy – Nádai และค่าความเค้นเริ่มคงที่เมื่ออัตราส่วน b/a มีค่ามากกว่า 2.5 และยังพบอีกว่า เมื่อเพิ่มภาระที่กระทำกับแผ่นบางมากขึ้นระยะแอ่นตัวของแผ่นบางก็จะมีค่าเพิ่มมากขึ้นด้วยen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleผลของแรงปฏิกิริยาที่ขอบรองรับแบบหนีบยึดต่อระยะแอ่นตัว และความเค้นของแผ่นบางen_US
dc.title.alternativeEffects of Reaction Forces at Clamped Edge on Deflection and Stress of Thin Plateen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume17en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.