Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64664
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิวัฒน์ มูลอ้ายen_US
dc.contributor.authorทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.issued2552en_US
dc.identifier.issn0857-2185en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/16_3/3.%20wiwat.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64664-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตน้ำร้อนใช้งานที่ อาคารสุจิณโณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ซึ่งเป็นอาคารหอผู้ป่วย 15 ชั้น มีความต้องการน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 40-50oC ในอัตรา 18-25 m3/d ระบบน้ำร้อนที่ ทดสอบจะเป็นระบบทำน้ำร้อนแบบปั๊มความร้อนเสริมแสงอาทิตย์ โดยใช้ตัวเก็บรังสีแสงอาทิตย์แบบโพลีนพรอพิลีน พื้นที่ รับรังสี 9 m2 ปั๊มความร้อนมีความสามารถในการผลิตความร้อนในอัตรา 10-12 kW ให้แก่ถังเก็บน้ำร้อนขนาด 5,000 liter โดยใช้ R-22 เป็นสารทำงาน ระบบดังกล่าวจะทดแทนระบบทำน้ำร้อนด้วยลวด ขนาด 12 kW ในกรณีที่ระดับความเข้มรังสี ไม่เพียงพอ ปั๊มความร้อนจะดึงความร้อนจากอากาศในห้องควบคุมลิฟต์ ช่วยลดการใช้ระบบทำความเย็นในห้องดังกล่าว จากผลการทดสอบที่ฤดูกาลต่างๆ ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะของระบบทำน้ำร้อนมีค่าประมาณ 2.5-5 โดยใช้ กำลังไฟฟ้าเฉลี่ยมีค่าร้อยละ 50 ของค่าที่ใช้ในกรณีลวดไฟฟ้า งานวิจัยนี้ยังได้มีการพัฒนาโมเดลเพื่อทำนายสภาพการทำงาน ของระบบ ซึ่งผลที่ได้จากแบบจำลองสอดคล้องได้ดีกับผลการทดลอง และจากแบบจำลอง เมื่อทำนายสมรรถนะของระบบ ภายใต้ภูมิอากาศของจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ที่อุณหภูมิน้ำร้อนใช้งานที่ 45oC ระยะเวลาคืนทุนของระบบจะประมาณ 1.3 ปีen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleศักยภาพในการผลิตน้ำร้อนในโรงพยาบาล ด้วยปั๊มความร้อนเสริม แสงอาทิตย์ที่ใช้ตัวเก็บรังสีแบบโพลีพรอพิลีนen_US
dc.title.alternativePotential of Hot Water Production in Hospital by Solar-Boosted Heat Pump using Polypropylene Solar Collectoren_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume16en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.