Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อิสรา ธีระวัฒน์สกุล | en_US |
dc.contributor.author | สมพร ติ๊บขัด | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:18Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:18Z | - |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-2185 | en_US |
dc.identifier.uri | http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/16_3/1.%20Somporn.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64661 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปี | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อหาสภาวการณ์ทำงานของเครื่องกลึงซีเอ็นซี ในการสร้างต้นแบบที่ทำจากพลาสติก โดย ใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล เพื่อวิเคราะห์หาปัจจัยและค่าที่เหมาะสม ที่ส่งผลต่อค่าความหยาบของ ผิวชิ้นงาน โดยใช้มีดกลึงสำหรับกลึงอลูมิเนียม (Cutting Inserts for Aluminum – CCGT 32.50.5 FL) ปัจจัยที่ทำการศึกษา คือ ความเร็วตัด อัตราป้อน และความลึกในการกลึง นอกจากนี้ ยังได้วิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์เพื่อหาความคุ้มค่าในการ นำเอาเครื่องกลึงซีเอ็นซีมาใช้ในกระบวนการสำหรับขึ้นรูปพลาสติก เพื่อสร้างต้นแบบเซรามิกทดแทนปูนปลาสเตอร์ แบบเดิม ผลจากการวิจัยนี้พบว่า มีปัจจัยหลักที่สำคัญเกี่ยวข้องด้วยกันสองปัจจัย คือ อัตราป้อน และความลึกในการกลึงตัด ในแต่ละเที่ยว ผลการวิเคราะห์ ควรตั้งค่าอัตราป้อนที่ 0.1 มม./รอบ และค่าความลึกในการกลึงตัดในแต่ละเที่ยวอยู่ที่ 0.5 มม. จึงจะเหมาะสมสำหรับความหยาบผิวที่ดีที่สุด นอกจากนี้ ยังสามารถประมาณค่าความหยาบผิวของชิ้นงานจากสมการ ถดถอย คือ Ra = - 2.65 + 3.07a + 22.2f + 0.0163v โดยที่ Ra คือ ค่าความหยาบผิว (ไมครอน) a คือ ความลึกในการกลึง (มม.) f คือ อัตราการป้อน (มม./รอบ) และ v คือ ความเร็วตัด (มม./นาที) จากการวิเคราะห์ด้านเศรษฐศาสตร์เพื่อหาความคุ้มค่าในการนำเอาเครื่องกลึงซีเอ็นซีมาใช้ในกระบวนการสำหรับ ขึ้นรูปพลาสติกเพื่อสร้างต้นแบบเซรามิก ให้อัตราผลตอบแทน (Rate of Return) อยู่ที่ 29.84 % ต่อปี และระยะเวลาที่คุ้มทุน มากที่สุดคือ 3.4 ปี | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | การหาสภาวะการทำงานของเครื่องกลึงซีเอ็นซี ในการสร้างต้นแบบที่ทำจากพลาสติก | en_US |
dc.title.alternative | Optimal Conditions of CNC Lathe for Plastic Prototyping Production | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
article.volume | 16 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.