Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอาษา ประทีปเสนen_US
dc.contributor.authorมัณฑณา ศรีนางen_US
dc.contributor.authorมนตรี กุดั่นen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:18Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/9Montri.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64649-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการนําการตรวจสอบโดยไม่ทําลายวิธีอะคูสติกอิมิชชั่น (Acoustic Emission : AE) ทําการ ตรวจจับการกัดกร่อนของเหล็กกล้าคาร์บอนต่ํา (Low Carbon Steel) ซึ่งวิธีการตรวจสอบนี้เป็นตรวจจับสัญญาณ คลื่นเสียงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของวัสดุ และเป็นการตรวจสอบแบบไม่ทําลายที่มีข้อได้เปรียบกว่าวิธีการ ตรวจสอบอื่นๆ คือ สามารถตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ขณะที่กําลังใช้งานอยู่และเป็นการตรวจสอบก่อนที่จะเกิดการเสียหาย จึงสามารถที่จะทําการป้องกัน แก้ไขหรือซ่อมแซมวัสดุอุปกรณ์ก่อนจะเกิดการเสียหายได้ ซึ่งในการวิจัยจะศึกษาเพื่อหา ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการกัดกร่อนกับพารามิเตอร์ทางสัญญาณอะคูสติกอิมิชชั่น (AE-Parameter) โดยนําวัสดุที่ใช้ ทําถังพักบรรจุคือ เหล็กกล้าคาร์บอนต่ําชนิด A36 และเหล็กกล้าคาร์บอนต่ําชนิด A36 ที่ผ่านการเชื่อมด้วยกระบวนการ เชื่อมลวดหุ้มฟลักซ์ (SMAW) โดยการเชื่อมใช้ลวดเชื่อมชนิด E 7016 มาทดสอบการกัดกร่อนโดยใช้กรดซัลฟูริก (H2SO4) ที่มีค่าความเป็นกรด (pH) ต่างกัน 4 ระดับคือตั้งแต่ค่าความเป็นกรด 4.5 ถึง 6 โดยปรับค่าความเป็นกรดช่วงละ 0.5 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในระยะเวลา 24 ชั่วโมง ในขณะทําการทดลองได้ควบคุมอัตราการกัดกร่อนให้คงที่ด้วยเครื่อง ควบคุมการกัดกร่อนด้วยไฟฟ้า (Potentiostat) โดยการควบคุมค่าศักย์ไฟฟ้าให้คงที่เท่ากับค่าศักย์ไฟฟ้าที่เหมาะสมต่อการ กัดกร่อน (Ecorr) และได้บันทึกผลทางสัญญาณอะคูสติกอิมิชชั่นตลอดการทดลองโดยติดตั้งหัวตรวจสอบ อะคูสติกอิมิชชั่นไว้ด้านข้างถังพักจําลอง ผลการวิจัยพบว่าเมื่อสภาวะการกัดกร่อนของวัสดุและกรดซัลฟูริกเปลี่ยนแปลงไป จะส่งผลให้พารามิเตอร์ทางสัญญาณอะคูสติกอิมิชชั่นมีลักษณะของสัญญาณเปลี่ยนแปลงไปด้วย และความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราการกัดกร่อนกับพารามิเตอร์ทางสัญญาณอะคูสติกอิมิชชั่นมีความสัมพันธ์กันในทางสมการคณิตศาสตร์en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการตรวจจับการกัดกร่อนแบบยูนิฟอร์มในเหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ และรอยเชื่อมด้วยวิธีอะคูสติกอิมิชชั่นen_US
dc.title.alternativeUniform Corrosion Monitoring in Low Carbon Steel and Weld using Acoustic Emissionen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรีen_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรีen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.