Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภาณุ ปัญโญใหญ่en_US
dc.contributor.authorเสริมเกียรติ จอมจันทร์ยองen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/3%C0%D2%B3%D8.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64640-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาเส้นใยต้นกล้วย เพื่อนําใช้ในสิ่งทอ โดยจะทําการศึกษา พัฒนา และทดลอง ในเรื่องของชนิดของวัตถุดิบที่นํามาผลิต กรรมวิธีการผลิต และเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต โดยเครื่องจักรในงานวิจัยจะอาศัย แรงตีจากใบพัดโลหะที่ส่งแรงขับมาจากมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อกําจัดสิ่งที่ไม่ต้องการออกไป และทําให้เส้นใยแยกตัวออกจากกัน เส้นใยที่ได้นี้จะมีความกว้างประมาณ 130 µm จากผลการทดลองพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณผลผลิตของเส้นใย คือ ความเร็วรอบของมอเตอร์ โดยค่าความเร็วรอบของมอเตอร์ที่ส่งผลให้ได้ปริมาณของผลผลิตสูงที่สุดมีค่าประมาณ 1,300 rpm ซึ่งมีค่าร้อยละของน้ําหนักเส้นใยอยู่ที่ 0.6926% และจากการทดสอบคุณสมบัติของเส้นใยพบว่า เส้นใยจากลําต้นของ กล้วยน้ำว้ามีค่าความสามารถในการต้านทานแรงดึงสูงที่สุด โดยมีค่าความเค้นเฉลี่ยเท่ากับ 723.28 MPa ค่าความเครียดเฉลี่ย เท่ากับ 3.97 และค่า Young’s Modulus เฉลี่ยเท่ากับ 28.29 GPa เมื่อนําผลการทดสอบคุณสมบัติของเส้นใยไป เปรียบเทียบกับเส้นใยที่มาจากท้องตลาดแล้ว พบว่าค่าของคุณสมบัติทางกายภาพ และความสามารถในการต้านทานแรงดึง ของเส้นใยจากงานวิจัยมีค่าทัดเทียมกันกับเส้นใยจากท้องตลาด นั่นแสดงว่าเส้นใยจากงานวิจัยสามารถที่จะถูกพัฒนาเพื่อ นําไปใช้ได้จริงในวงการอุตสาหกรรมสิ่งทอen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการพัฒนาเส้นใยต้นกล้วยสําหรับสิ่งทอen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Banana Fiber for Textileen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.