Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64631
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorตฤณ เลขวรรณวิจิตรen_US
dc.contributor.authorจิตเทพ ประสิทธิ์อยู่ศีลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:17Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/2%B5%C4%B3.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64631-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractกระบวนการอนาม็อกเป็นทางเลือกที่เหมาะสมในการบําบัดน้ําเสียที่มีแอมโมเนียเข้มข้นสูง และมีอัตราส่วน C/N ต่ํา โดยสามารถประยุกต์ใช้ระบบชารอนเพื่อปรับน้ําเสียให้มีสัดส่วนแอมโมเนียและไนไตรท์ที่เหมาะสมกับระบบอนาม็อก ด้วยการควบคุมอุณหภูมิ, เวลากักเก็บน้ํา (HRT) และออกซิเจนละลายน้ํา (DO) ช่วยลดความต้องการออกซิเจนและแหล่ง คาร์บอนเมื่อเทียบกับระบบไนตริฟิเคชั่นและดีไนตริฟิเคชั่นทั่วไป จากการศึกษาการกําจัดแอมโมเนียในน้ําเสียฟาร์มสุกร ด้วยระบบชารอน (เป็นถังกวนสมบูรณ์) ร่วมกับระบบอนาม็อก (เป็นถังกรองชีวภาพ) ในระดับห้องปฏิบัติการเป็นเวลา 91 วัน ได้อัตราภาระบรรทุกไนโตรเจนที่เหมาะสมสําหรับระบบอนาม็อกคือ 0.2-1.0 กก./ม.3-วัน และที่อัตราภาระบรรทุก ไนโตรเจน 1.0 กก./ม.3-วัน ระบบมีอัตราภาระบรรทุกไนโตรเจนจําเพาะ 10.73 ก./ม.2-วัน กําจัดแอมโมเนียและไนไตรท์ ได้ร้อยละ 74.2 และ 84.5 ตามลําดับ อัตราภาระบรรทุกไนโตรเจนสูงสุดที่พบในการทดลองคือ 1.4 กก./ม.3-วัน แต่ขาด เสถียรภาพเพราะซีโอดีที่เหลืออยู่ในน้ําออกจากระบบชารอนจะทําให้เกิดกระบวนการดีไนตริฟิเคชั่นในระบบอนาม็อก ซึ่งจะลดประสิทธิภาพโดยรวมของระบบ การเริ่มต้นระบบอนาม็อกด้วยหัวเชื้อตะกอนจากถังหมักไร้ออกซิเจนมีความ เข้มข้น 7.8 ก.VSS/ล. ใช้เวลาเพียง 2 สัปดาห์ เป็นการเริ่มระบบอนาม็อกที่เร็วกว่าการเพาะเชื้อด้วยตะกอนที่มีแบคทีเรียกลุ่ม ไนตริฟายอิงจากระบบเอเอสen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการกําจัดไนโตรเจนในน้ำเสียฟาร์มสุกรโดย กระบวนการชารอนร่วมกับอนาม็อกen_US
dc.title.alternativeNitrogen Removal from Piggery Farm Wastewater by Combined Sharon/Anammox Processen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.