Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐพล แสงสุวรรณen_US
dc.contributor.authorสมใจ กาญจนวงศ์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:16Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:16Z-
dc.date.issued2551en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/1%B3%D1%B0%BE%C5.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64623-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะน้ําชะละลายจากขยะรื้อทําลายจากสิ่งปลูกสร้างเพื่อดูผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นต่อคุณภาพน้ำใต้ดินจากการจัดการวัสดุรื้อทําลายเหล่านี้ การศึกษาโดยใช้ถังจําลอง 5 ถัง สูง 2 ม. ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 0.60 ม. บรรจุวัสดุรื้อทําลายถังละชนิด ได้แก่ คอนกรีต แผ่นยิปซัม ไม้และไม้อัด จํานวน 4 ถัง และถังจําลองบรรจุ คอนกรีต แผ่นยิปซัม ไม้และไม้อัดผสมกันอีก 1 ถัง ในสัดส่วน 60 : 10 : 15 : 15 โดยปริมาตร ตามลําดับ โดยแต่ละถังบรรจุ วัสดุรื้อทําลายสูง 1.50 ม. โดยมีการเติมน้ําฝนจําลองตามค่าปริมาณน้ําฝนจริงของจังหวัดเชียงใหม่ปี พ.ศ. 2547 ทําการวัด ปริมาตรน้ําชะละลายวันละ 1 ครั้ง และวิเคราะห์ลักษณะน้ําชะละลาย ได้แก่ pH, DO, ORP, conductivity, TDS, alkalinity, COD, TOC, sulfate, sulfide, chloride, calcium, magnesium, arsenic, copper, chromium และ zinc ความถี่ในการวิเคราะห์ 1-2 สัปดาห์/ครั้ง ทําการศึกษาเป็นระยะเวลา 6 เดือน ผลการศึกษาลักษณะน้ําชะละลายพบว่า น้ําชะละลายจากถังจําลองบรรจุคอนกรีตมีค่า pH สูงและมีค่าอยู่ในช่วง 7.97-10.1 น้ําชะละลายจากถังจําลองบรรจุแผ่น ยิปซัมมีปริมาณ TDS และ sulfate สูงที่สุดโดยมีค่าอยู่ในช่วง 2600-4100 และ 1326-1706 มก./ล. ตามลําดับ น้ําชะละลาย จากถังจําลองบรรจุไม้และไม้อัดมีค่า DO ต่ํา โดยมีค่าอยู่ในช่วง 0.15-2.23 และ 0.33-2.21 มก./ล. ตามลําดับ ส่วนค่า COD มีค่าอยู่ในช่วง 264-1168 และ 208-864 มก./ล. ตามลําดับ น้ําชะละลายที่เกิดจากการทิ้งรวมกันของวัสดุรื้อทําลายจากสิ่ง ปลูกสร้างทั้ง 4 ชนิด มีผลทําให้ระดับ TDS, sulfate และ calcium มีปริมาณที่สูงเพิ่มขึ้นen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleลักษณะของน้ําชะละลายจากขยะรื้อทําลายจากสิ่งปลูกสร้าง : คอนกรีต แผ่นยิปซัม ไม้และไม้อัดen_US
dc.title.alternativeLeachate Characteristics of Demolition Waste from Building Construction : concrete, gypsum drywall, wood and plywooden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume15en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.